การขับเคลื่อน การศึกษาไทย สู่ประชาคม“อาเซียน”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โรงเรียนพัฒนาสู่มาตรฐานสากล สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
Advertisements

โครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการจัดการศึกษาตลอดชีวิต (โครงการเรียนรู้สู่อาเซียน)
การพยาบาลผู้ป่วยและผู้ใช้บริการจากกลุ่มประเทศอาเซียน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC)
โครงการนิเทศเต็มพิกัดโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน สู่การยกระดับคุณภาพการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร โดย ปรีชา พาลุกา ศึกษานิเทศก์
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
รอบรู้อาเซียน.
LOGO โครงการประชุมสัมมนาถ่ายทอดนโยบาย ของมหาวิทยาลัยสู่ ผู้บริหารระดับหัวหน้า ภาควิชา สาขาวิชา “70 ปี มหาวิทยาลัยศิลปากร : โอกาสและ ศักยภาพการเป็นผู้นำ.
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้น
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร และบริบทของสถานศึกษา
บรรยายองค์ความรู้เรื่อง AEC สมาคมอาเซียน
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
การก่อตั้งประชาคมอาเซียน
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
ชุมชน สังคม ภาคใต้บน ชาติ นานาชาติ
หลักการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การจัดการศึกษาในชุมชน
2. กระทรวงศึกษาธิการกับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
รู้เรื่องอาเซี่ยนมากน้อยเพียงใด
ประชาคมอาเซียน.
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การเตรียมความพร้อมของสาขาบริการสุขภาพ
การเตรียมโรงเรียน สู่ประชาคม “อาเซียน” ปี 2558
การรายงานผลการจัดการศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา
นางสาวสุนันท์ อังเกิดโชค หัวหน้าสำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การเตรียมการของคณะครุศาสตร์ สู่การเป็นประชาคมอาเซียน
จุดเริ่มต้นของอาเซียน
พลังชุมชน สู่สุขภาพดีในยุคประชาคมอาเซียน : บทบาทสถานศึกษา
การเตรียมโรงเรียน สู่ประชาคม “อาเซียน” ปี 2558
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
การพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน ตามพระราชบัญญัติ ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
- อาจารย์ - บุคลากร - นักศึกษา ทุนอุดหนุนการวิจัยประเภท งานวิจัยตามพันธกิจ และอัตลักษณ์ของ มหาวิทยาลัย.
บทบาท หน้าที่ ของ สพป. สถานศึก ษา. Personal Spirit มิตร สันติภาพ คนดี ผู้อื่น Problem Solviing แก้ปัญหาอย่าง เป็นระบบ Team Work ทำงานเป็นทีม สมรร ถนะ.
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
อาเซียน จัดทำโดย ด.ญ. เปมิกา เปสลาพันธ์ ม.1/16 เลขที่ 36
ความสัมพันธ์ไทยกับ อาเซียน 22 ธันวาคม อาเซียน.
แนวทางการเชื่อมโยง “อาเซียน” สู่ระบบการศึกษาของ ประเทศไทย และ นโยบายการขับเคลื่อน การศึกษาสู่ประชาคม “อาเซียน” จันทรา ตันติพงศานุรักษ์ สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา.
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Asean Economics Community : AEC
กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น เขตพื้นที่การศึกษา เชียงรายเขต 1
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( AEC )
แนวทางการเชื่อมโยง “อาเซียน” สู่ระบบการศึกษาของ ประเทศไทย และ นโยบายการขับเคลื่อน การศึกษาสู่ประชาคม “อาเซียน” จัดเผยแพร่ โดย กองร้อยตำรวจตระเวรชายแดนที่
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
แม้อาเซียนจะมิได้มีสนธิสัญญาหรือกฎบัตรมา ตั้งแต่ต้น แต่เมื่อเวลาผ่านไปอาเซียนก็ได้ พัฒนาความร่วมมือโดยอาศัยฐานในทาง กฎหมายระหว่างประเทศมากขึ้น เช่น.
การศึกษาในสังคมอาเซียน
Welcome.
การปรับตัวและเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่อาเซียน
ครูศรีวรรณ ปานสง่า การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ของประเทศในภูมิภาคเอเชีย ผู้สอน อ. ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
กฎบัตรอาเซียน และ อาเซียนบลูปรินส์
การสัมมนาเพื่อจัดทำแผน ยุทธศาสตร์การดำเนินงาน เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาเขตภาค กลาง เพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย วันพฤหัสบดีที่ 25 พฤศจิกายน 2553 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การตระหนักในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน การสนับสนุนขององค์กร และศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน ของครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การขับเคลื่อน การศึกษาไทย สู่ประชาคม“อาเซียน” การขับเคลื่อน การศึกษาไทย สู่ประชาคม“อาเซียน” จันทรา ตันติพงศานุรักษ์ ชยพร กระต่ายทอง สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ 02-2885778, 081-5529455, 081-7139388

ทำไมต้อง... ขับเคลื่อนอาเซียน?

จุดเริ่มต้นของอาเซียน Association of Southeast Asian Nations (ASEAN) สมาคมแห่งประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ก่อตั้งโดยปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) เมื่อ 8 สิงหาคม 1967 (พ.ศ. 2510)

วัตถุประสงค์สำคัญ: “เพื่อส่งเสริม ความร่วมมือและ ความช่วยเหลือ ซึ่งกันและกัน ในทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ส่งเสริมสันติภาพ และความมั่นคง ส่วนภูมิภาค Brunei joined in January 1984, Viet Nam in July 1995, Laos and Myanmar in July 1997 and Cambodia in April 1999. Main Objectives (i) to accelerate economic growth, social progress and cultural development (ii) to promote regional peace and stability. And to maintain close and beneficial cooperation with existing international and regional organizations As stated in the Bangkok Declaration, the Founding Fathers of ASEAN desired “to promote regional cooperation in Southeast Asia in the spirit of equality and partnership and thereby contribute towards peace, progress and prosperity in the region. เสริมสร้างความร่วมมืออาเซียนกับประเทศภายนอก องค์การ ความร่วมมือแห่งภูมิภาคอื่นๆ และองค์การระหว่างประเทศ ...” 4

สมาชิกอาเซียน สมาชิกผู้ก่อตั้งปี 1967 ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ สมาชิกเพิ่มเติม + บรูไน ดารุสซาลาม ปี 1984 + เวียดนาม ปี 1995 + ลาว ปี 1997 + พม่า ปี 1997 + กัมพูชา ปี 1999

ความหมายของตราสัญลักษณ์อาเซียน ความบริสุทธิ์ ความเจริญรุ่งเรือง สันติภาพและเสถียรภาพ ความกล้าหาญและพลวัตร ข้าว 10 ต้น คือ 10 ประเทศรวมกันเพื่อมิตรภาพและความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียว วงกลมแสดงถึงความเป็นเอกภาพ

หลักการพื้นฐานของอาเซียน การเคารพในอธิปไตยและบูรณภาพ แห่งดินแดน การไม่แทรกแซงในกิจการภายใน การแก้ไขปัญหาโดยสันติวิธี

ประชาคมอาเซียน 3 เสาหลัก ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม

ASEAN Centrality ASEAN+3 ASEAN ASEAN+6 The centrality of ASEAN must be based on, first and foremost, ine inner strength of the ASEAN community. It also depends not only on the form of ASEAN’s external engagement, but also its content. The quality of ASEAN’s leadership is key. ASEAN+6

ASEAN Charter (กฎบัตรอาเซียน) A constitution of ASEAN ธรรมนูญอาเซียน วางกรอบการทำงาน การจัดตั้งสถาบัน และ แนวทางกฎหมายของ ASEAN วัตถุประสงค์หลักของ ASEAN Charter -- สร้าง ASEAN ให้ ….. มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงขึ้น เคารพกฎกติการ่วมกันมากขึ้น ให้ความสำคัญต่อประชาชนมากขึ้น The most important point about ASEAN Charter is the determination to have a more rules based and legal way of doing things. This is a good signal for the economic integration of ASEAN. There will be more predictability and certainty of policy. As you all know, the ASEAN Charter was signed last November, and its full ratification is expected to be achieved in time for ASEAN Leaders to celebrate its entry into force at our next ASEAN Summit in Bangkok at the end of this year.

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ (เลขาธิการอาเซียน) 2551-2555

ทัศนคติและความตระหนักรู้ เพื่อก้าวไปสู่ “อาเซียน” บทสรุปข้อค้นพบจากการสำรวจข้อมูล ประเทศสมาชิกอาเซียน The survey was carried out last year among university students in all ten ASEAN member countries. There were 2170 respondent and average age was 20 years old. สำรวจข้อมูลของนักศึกษา จำนวน 2,170 คน จากมหาวิทยาลัยชั้นนำในประเทศสมาชิกอาเซียน

ผม/ฉันรู้สึกว่าตนเองเป็นพลเมืองอาเซียน (I feel that I am a citizen of ASEAN) ลาว 96.0% 2. กัมพูชา 92.7% 3. เวียดนาม 91.7% 4. มาเลเซีย 86.8% 5. บรูไน 82.2% 6. อินโดนีเซีย 73.0% 7. ฟิลิปปินส์ 69.6% 8. ไทย 67.0% 9. พม่า 59.5% 10. สิงคโปร์ 49.3% The most common attitude towards ASEAN was “positive”. Over 75% of students agreed with the statement “I feel I am a citizen of AZEAN “ They may not know yet that the drafters of the ASEAN Charter felt that ASEAN was not yet ready to recognize the ASEAN “citizenship” , the way the European Union does recognize European citizenship; thus the ASEAN Charter is silent on the ASEAN citizenship

คุณรู้เกี่ยวกับอาเซียนจาก … โทรทัศน์ 78.4% ครอบครัว 18.2% โรงเรียน 73.4% 11. การเดินทาง 13.3% หนังสือพิมพ์70.7% 12. ภาพยนตร์ 12.1% หนังสือ 65.0% 13. ดนตรี 9.2% อินเตอร์เน็ต 49.9% 14. งาน/อาชีพ 6.1% วิทยุ 40.3% กีฬา 34.1% 8. โฆษณา 31.6% 9. เพื่อนๆ 27.6%

เป้าหมายของอาเซียน ประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศรวมเป็น ประชาคมเดียวกัน ในปี พ.ศ. 2558 มีการค้าเสรีระหว่างกัน ไม่มีการเก็บภาษีศุลกากร เปิดให้มีการเคลื่อนย้ายทุน และการลงทุนอย่างเสรี แรงงานมีฝีมือ มีอิสระในการหางานทำ ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของอาเซียน

สิ่งท้าทายต่อการศึกษาไทย การสร้างความรู้ความเข้าใจและความตระหนักของ คนในวงการศึกษาเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน การเตรียมความพร้อมในการรวมตัวเป็นประชาคม ในปี พ.ศ. 2558 ระบบ ระเบียบ กฎหมาย กระบวนการ สถาบัน หน่วยงาน สถานศึกษา บุคลากร เจ้าหน้าที่ ประชาชน การประเมินผลกระทบด้านต่างๆ และแนวทาง การแก้ไขปัญหา ระบบข้อมูลข่าวสารและองค์ความรู้

นโยบายรองรับการเปิดเสรีร่วมกับประชาคมอาเซียนของกระทรวงศึกษาธิการ จากการประชุมคณะกรรมการระดับชาติ เพื่อ ขับเคลื่อนความร่วมมือด้านการศึกษาในอาเซียน ให้บรรลุตามเป้าหมายในปี พ.ศ. 2558 เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2553 การเผยแพร่ความรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับอาเซียน เพื่อสร้างความตระหนัก และเตรียมความพร้อม ของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน นักศึกษา และประชาชน การพัฒนาศักยภาพของนักศึกษา นักเรียน และ ประชาชนให้มีทักษะ เพื่อเตรียมความพร้อม ในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาเพื่อนบ้าน

การพัฒนามาตรฐานการศึกษา เพื่อส่งเสริม การหมุนเวียนของนักศึกษาและครูในอาเซียน และยอมรับในคุณสมบัติร่วมกัน ส่งเสริมการเป็น ศูนย์กลางการศึกษาของภูมิภาค การเตรียมความพร้อม เพื่อเปิดเสรีการศึกษา ในอาเซียน การพัฒนาเยาวชน เพื่อเป็นทรัพยากรในการ เข้าสู่ประชาคมอาเซียน

จุดเน้นของ สพฐ. ปี 2554 ข้อที่ 8 “นักเรียน ครู และสถานศึกษาได้รับการพัฒนา เตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)”

เป้าหมายการพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน ASEAN Focus School (14 โรง) Sister School (30 โรง) Buffer School (24 โรง) ASEAN Focus School (14 โรง) School สังกัด สพฐ. เป็นโรงเรียนต้นแบบการพัฒนาการเรียนรู้อาเซียน โดยการ บูรณาการในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เน้นการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และการจัดทำหน่วยการเรียนรู้อาเซียนศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เป็นศูนย์อาเซียนศึกษา เป็นแหล่งการเรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียนในโรงเรียน และชุมชน ผู้บริหาร ครู และผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และ ความตระหนักเกี่ยวกับอาเซียน จัดกิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียน จัดกิจกรรมสร้างความรู้ความเข้าใจและความตระหนักเกี่ยวกับอาเซียน มีมุมอาเซียนศึกษา หรือศูนย์อาเซียนศึกษา เป็นโรงเรียนต้นแบบ การพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษาที่เน้นอาเซียน เน้นภาษาอังกฤษ ICT พหุวัฒนธรรม ภาษาเพื่อนบ้าน เป็นศูนย์อาเซียนศึกษา เผยแพร่สื่อการเรียนรู้ และ แหล่งการเรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียน สำหรับผู้บริหาร ครู ผู้เรียน และชุมชน รวมทั้งผู้สนใจทั่วไป จัดกิจกรรมสร้างความรู้ความเข้าใจและความตระหนักเกี่ยวกับอาเซียน มีโรงเรียนเครือข่าย อย่างน้อย 9 โรง เป็นโรงเรียนต้นแบบ การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้นอาเซียน เน้นภาษาเพื่อนบ้าน พหุวัฒนธรรม เป็นศูนย์อาเซียนศึกษา เผยแพร่สื่อการเรียนรู้ และ แหล่งการเรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียน สำหรับผู้บริหาร ครู ผู้เรียน และชุมชน รวมทั้งผู้สนใจทั่วไป จัดกิจกรรมสร้างความรู้ความเข้าใจและความตระหนักเกี่ยวกับอาเซียน มีโรงเรียนเครือข่าย อย่างน้อย 9 โรง

การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ที่เน้น “อาเซียน” และการจัด การเรียนรู้เกี่ยวกับ “อาเซียน” ASEAN Community หลักสูตรสถานศึกษา

หลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรสถานศึกษาที่เน้นอาเซียน: Sister School/Buffer School ข้อมูลพื้นฐาน/บริบทของโรงเรียน รายวิชาพื้นฐาน Web Community หลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรสถานศึกษาSister School/ Buffer School รายวิชาเพิ่มเติม อาเซียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จุดเน้นของ Sister School ภาษาอังกฤษ ภาษาเพื่อนบ้าน ICT พหุวัฒนธรรม จุดเน้นของ Buffer School ภาษาเพื่อนบ้าน พหุวัฒนธรรม

การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา ที่เน้นอาเซียน องค์ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับอาเซียน ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับประเทศสมาชิกอาเซียน วิถีชีวิต/พหุวัฒนธรรม ประชาคมอาเซียน กฎบัตรอาเซียน ปฏิญญาอาเซียน ประเด็นสำคัญที่เกี่ยวกับอาเซียน เช่น พลเมือง สิทธิมนุษยชน ประชาธิปไตย ประวัติศาสตร์เชิงบวก สันติศึกษา สิ่งแวดล้อม การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สุขภาพ การค้าเสรี ฯลฯ สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ ทักษะ/กระบวนการ การใช้ภาษาอังกฤษ ภาษาเพื่อนบ้าน การใช้ ICT การคำนวณ การให้เหตุผล กระบวนการคิด การวิเคราะห์ การสร้างสรรค์ กระบวนการกลุ่ม การแก้ปัญหา การสืบสอบ การสื่อสาร การสร้างความตระหนัก คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีทักษะชีวิต กล้าแสดงออก เอื้ออาทรและแบ่งปัน เข้าใจตนเองและผู้อื่น ยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล common values ฯลฯ การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา ที่เน้นอาเซียน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรสถานศึกษา ส่วนนำ (ความนำ วิสัยทัศน์โรงเรียน สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์) โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา (โครงสร้างเวลาเรียน โครงสร้างหลักสูตรชั้นปี) คำอธิบายรายวิชา กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เกณฑ์การจบการศึกษา รายวิชาพื้นฐานที่บูรณาการ อาเซียน รายวิชาเพิ่มเติม ที่เน้นอาเซียน กิจกรรม พัฒนาผู้เรียน ที่เน้นอาเซียน

การจัดการเรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียน เพื่อพัฒนาเยาวชนไทยมีความพร้อมในการ เป็นสมาชิกที่ดีของประชาคมอาเซียน สามารถ ติดต่อสื่อสารและอยู่ร่วมกันได้บนพื้นฐานของ ความเสมอภาคและผลประโยชน์ร่วมกันในการ เสริมสร้างความมั่นคงในด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรมของภูมิภาคอาเซียน

การออกแบบการจัดการเรียนรู้ ด้วยกระบวนการออกแบบย้อนกลับ กำหนดเป้าหมายในการเรียนรู้: ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ กำหนดการวัดและประเมินผล: ภาระงาน/ผลงาน การประเมินและเกณฑ์ วางแผนการจัดการเรียนรู้: กิจกรรมการเรียนรู้

แนวการจัดการเรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียน จัดการเรียนรู้ที่เน้นนักเรียนเป็นสำคัญ เปิดโอกาส ให้นักเรียนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้โดยใช้การบูรณาการ จัดการเรียนรู้ที่มีความยืดหยุ่น ปรับเปลี่ยน กิจกรรมได้ตามความเหมาะสม ใช้กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการคิด กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการสร้างความ ตระหนัก กระบวนการสื่อสาร

ออกแบบการจัดการเรียนรู้ โดยเลือกใช้วิธีสอน และเทคนิคการสอน สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ การวัด และประเมินผลที่หลากหลายตามสภาพจริง จัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่ดี เพื่อความเป็นพลเมือง ที่ดีในประชาคมอาเซียน

สื่อการเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้ เอกสาร หนังสือ ตำรา นิตยสาร วารสาร หนังสือพิมพ์ วรรณกรรม วรรณคดี เรื่องราว เหตุการณ์ เพลง เกม การละเล่น ธงชาติ ลูกโลก แผนที่ แผ่นพับ บัตรคำ บัตรภาพ ป้ายนิเทศ ของจริง ของจำลอง Website, Internet, Facebook, Web Community, E-book, CD, DVD etc. สถานที่ต่างๆ บุคคลต่างๆ ฯลฯ

Website แนะนำ http://www.15thaseansummit-th.org/thai/asean_documentary.php http://www.15thaseansummit-th.org/thai/asean_discovery_cartoon.php http://www.aseansec.org http://www.dtn.go.th http://www.thaifta.com http://en.wikipedia.org/wiki/ASEAN http://www.mfa.go.th/web/1650.php http://www.thaigov.go.th/eng/index.aspx http://www.mfa.go.th/web/2630.php http://www.tourismthailand.org http://www.youtube.com

ศูนย์อาเซียนศึกษา ศูนย์อาเซียนศึกษา ในโรงเรียน Education Hub 14 โรง ศูนย์อาเซียนศึกษา ในโครงการพัฒนาสู่ประชาคม อาเซียน: Spirit of ASEAN 54 โรง * โรงเรียน Sister School 30 ศูนย์ * โรงเรียน Buffer School 24 ศูนย์ * โรงเรียนเครือข่าย ตามความพร้อม ศูนย์อาเซียนศึกษา ในโครงการการพัฒนา การจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน ASEAN FOCUS 14 โรง

Thank You