วิกฤตและโอกาสงานวิจัยข้าวไทย รศ. ดร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการดำเนินงาน ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
Advertisements

หลักสูตรโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2544
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
ขั้นตอนการเสนอแบบประเมินและพิจารณาโครงการวิจัย
กลุ่มที่ 2 สถาบันที่ยังไม่มี IBC
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2552 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
สายวิชาการ 58 คน ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2553 จำนวนคน.
หลักการพัฒนา หลักสูตร
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
จัดตั้งงานประสานศูนย์วิทยพัฒนา 25 สิงหาคม 2550
Location Problem.
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
“การบริหารจัดการงานวิจัยและผลงานวิจัย”
ตัวอย่าง นวัตกรรมทางการพยาบาล
การประเมินคุณภาพภายในกอง แผนงาน ประจำปีการศึกษา 2551 วันที่ 20 กรกฎาคม 2552 โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน.
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
เป็นที่ไว้วางใจของผู้ บริโภค
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลาน ครินทร์ 23 มิถุนายน 2552.
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
หมวด2 9 คำถาม.
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
บทเรียนการเป็นผู้นำนวัตกรรมเทคโนโลยีที่พ่ายแพ้
ขับเคลื่อนนวัตกรรม ด้วยการเข้าใจตลาดและผู้ใช้
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
การวิจัยกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
1 ปี มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ปี มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
กรณีความเสี่ยง DMSc.
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ วันที่ มิถุนายน คะแนน ระดับดีมาก.
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นางสาว กรรณิการ์ ปัญญาเมืองใจ
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
การลดต้นทุนการผลิตพืช ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ มูลนิธิพลังนิเวศและชุมชน
วิจัยเพื่อชุมชน : การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรยั่งยืน
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
การวิเคราะห์โครงการ (Project Appraisal)
การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ และการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
"เป็นหน่วยงานหลักในการประสาน และผลักดันยุทธศาสตร์กระทรวง
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การยกระดับคุณภาพการศึกษา สู่การปฏิบัติ
พัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การ วิจัย และนวัตกรรม พัฒนาการเรียนรู้ด้าน วิทยาศาสตร์ตั้งแต่วัยเด็ก ต่อเนื่องทุกระดับการศึกษา เพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ให้
สรุปผลการประชุมกลุ่มที่ 3
ความคิดเห็นที่มีต่อการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของ บุคลากรวิทยาลัยเทคโนโลยี ฐานเทคโนโลยี บรรยวัสถ์ สินทรัพย์
วิสัยทัศน์ เป็นเลิศด้าน วิชาการ รับใช้ สังคม 50 ของเอเชีย เป้าหมาย ร่วมพัฒนาพื้นที่และประเทศอย่างยั่งยืน จัดการศึกษา มีคุณภาพ ยุทธศาสตร์ พัฒนางานวิจัย.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
การแปลงนโยบายและแผน นำสู่การปฏิบัติ
5.1 การส่งเสริมการนำ งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมาใช้ใน การพัฒนาประเทศ (3, ล้าน บาท ) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ที่จำเป็น โดยเร่งจัดตั้งอุทยาน.
ระบบบริหารจัดการองค์ความรู้ในองค์กร
1 โดย... นายชัยฤทธิ์ ดำรงเกียรติ รองอธิบดีกรมการข้าว.
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิกฤตและโอกาสงานวิจัยข้าวไทย รศ. ดร วิกฤตและโอกาสงานวิจัยข้าวไทย รศ.ดร. อภิชาติ วรรณวิจิตร ศูนย์วิทยาศาสตร์ข้าวและหน่วยปฏิบัติการค้นหาและใช้ประโยชน์ยีนข้าว

ในการเพิ่มประสิทธิภาพงานวิจัยข้าว โอกาส Opportunity ในการเพิ่มประสิทธิภาพงานวิจัยข้าว ความพร้อมด้านเทคโนโลยีชีวภาพ มีรหัสพันธุกรรมที่สมบูรณ์ทั้งจีโนม มีการวางตำแหน่งยีน ทั้งหมดบนจีโนม มีการสร้างฐานข้อมูลและเครื่องมือ ให้เข้าถึงได้ง่าย มีการสร้าง molecular marker ที่วางตำแหน่งแล้วอย่างสมบูรณ์ มีการศึกษาหน้าที่ของยีนแต่ละตัวบนจีโนม มีการค้นหาการเปลี่ยนแปลงรหัสพันธุกรรม (SNP) ที่นำมาใช้ในการปรับปรุงพันธุ์ มีความหลากหลายทางพันธุกรรม มีแหล่งทุนสนับสนุน ได้รับการสนับสนุนจากสถาบันชาติ

Jazzman, a new aromatic rice from LSU

ปัจจัยการทำวิจัย 1. โจทย์วิจัย 2. ทุนวิจัย (Financing) 3. เทคนิค,เทคโนโลยี,วิทยาการ (Methodology, technology) 4. วัตถุดิบ(Raw material, Germplasm) 5. นักวิจัย (Researcher)และขีดความสามารถ, การบริหารและวัฒนธรรม 6. เครื่องมือวิจัยและสิ่งอำนวยความสะดวก (Tools & equipments, facilities)

การวิเคราะห์ปัจจัยการทำวิจัยข้าว : โจทย์วิจัย 1. โจทย์วิจัย มีโจทย์วิจัยมากมาย น่าสนใจ - จุดวิกฤต ขาดการวิเคราะห์ impact ที่เหมาะสม สับสนโจทย์วิจัยขัดแย้งกันเอง การจัดลำดับความสำคัญ ขาดการเชื่อมโยง - มักเอาคำตอบมาตั้งเป็นสมมุติฐานงานวิจัย

การวิเคราะห์ปัจจัยการทำวิจัยข้าว : ทุนวิจัย 2. ทุนวิจัย (Funding) - ปริมาณทุนวิจัยของทั้งประเทศและข้าวยังอยู่ในระดับต่ำ-ปานกลาง - ชนิดของทุนวิจัย - ระยะสั้น (1-2 ปี) - ระยะปานกลาง (3- 4 ปี) - ระยะยาว (>5ปี) - ความคาดหวัง (Cost-benefit ratio impact) สูงมาก - ระยะเวลาการให้ทุน+ความยั่งยืน, ความมั่นคง สั้นและไม่มั่นคง - การให้ทุนวิจัยที่กระจัดกระจาย

การวิเคราะห์ปัจจัยการทำวิจัยข้าว : เทคโนโลยี, วิทยาการ 3. เทคโนโลยี, วิทยาการ - มีอยู่แล้ว - ติดสิทธิบัตรหรือไม่ - ต้องพัฒนาขึ้นใหม่ - ขาดการถ่ายทอดสู่ real sector

การวิเคราะห์ปัจจัยการทำวิจัยข้าว : วัตถุดิบ 4. วัตถุดิบ ฐานพันธุกรรม - มีมาก บางชนิดมีน้อย(ต้องนำเข้า) -เข้าถึงยาก - การใช้ฐานพันธุกรรมต่างประเทศ * ข้อจำกัดในการนำเข้าส่งออก(การแลกเปลี่ยนเมล็ด)

การวิเคราะห์ปัจจัยการทำวิจัยข้าว : นักวิจัย 5. นักวิจัย - นักวิจัยพื้นฐาน - นักปรับปรุงพันธุ์ - นักสรีรวิทยา - นักโรคพืช - นักกีฏวิทยา - นักโภชนาการ - นักวิทยาศาสตร์อาหาร - นักสังคม - นักเศรษฐศาสตร์ นักวิจัยต้นน้ำ นักวิจัยกลางน้ำ นักวิจัยปลายน้ำ

การวิเคราะห์ปัจจัยการทำวิจัยข้าว(ต่อ) ชนิดของนักวิจัย - นักวิจัย (หัวคิด) - ผู้ช่วยนักวิจัย - นักเทคนิค (นักปฏิบัติ) - นักศึกษา นักเรียน ในหน่วยงานควรมีนักปรับปรุงพันธุ์กี่คน

จำนวนผู้เชี่ยวชาญแต่ละช่วงอายุตามความเชี่ยวชาญด้านข้าว เศรษฐกิจ จำนวนผู้เชี่ยวชาญแต่ละช่วงอายุตามความเชี่ยวชาญด้านข้าว 18 เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว 2 1 9 3 16 เทคโนโลยีการผลิต, การปรับปรุงพันธุ์พืช 1 3 5 4 14 3 5 2 12 เทคโนโลยีการผลิต 10 เครื่องจักรกลทางการเกษตร 2 1 8 1 3 2 1 3 2 การพัฒนาคุณภาพข้าว 6 1 2 1 3 4 การพัฒนาการใช้ประโยชน์จากข้าว 2 การปรับปรุงพันธุ์พืช 1 การพัฒนาคุณภาพข้าว, การพัฒนาการใช้ประโยชน์จากข้าว 28-30 31-35 36-40 41-45 46-50 51-55 56-60 61-65 66-70 ศูนย์ความเป็นเลิศแห่งนวตกรรมข้าว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สงวนลิขสิทธิ์

การวิเคราะห์ปัจจัยการทำวิจัยข้าว : เครื่องมือวิจัย (Tools, equipments) 6. เครื่องมือวิจัย(Tools, equipments) - ถูกจำกัดมากด้วยทุน - Access ยาก(การเข้าถึง)ใช้ไม่คุ้มค่า

การขับเคลื่อนงานวิจัยสู่ความสำเร็จ 1. ไม่มีข้อจำกัดในปัจจัยการวิจัย 2. การบริหารงานวิจัยและการกำกับ - การบริหารบุคคล - การบริหารการเงิน - การบริหารเวลา - การประเมินผลงานวิจัย - การให้รางวัล / ลงโทษ

3. การเชื่อมโยงงานวิจัยต่างๆให้สอดคล้องและมีทิศทาง (Alignment) - การแลกเปลี่ยนความรู้ - วางแผนร่วมกัน - ส่งต่อผลงานวิจัย 4. การถ่ายทอดงานวิจัย 5. การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา