วิกฤตและโอกาสงานวิจัยข้าวไทย รศ. ดร วิกฤตและโอกาสงานวิจัยข้าวไทย รศ.ดร. อภิชาติ วรรณวิจิตร ศูนย์วิทยาศาสตร์ข้าวและหน่วยปฏิบัติการค้นหาและใช้ประโยชน์ยีนข้าว
ในการเพิ่มประสิทธิภาพงานวิจัยข้าว โอกาส Opportunity ในการเพิ่มประสิทธิภาพงานวิจัยข้าว ความพร้อมด้านเทคโนโลยีชีวภาพ มีรหัสพันธุกรรมที่สมบูรณ์ทั้งจีโนม มีการวางตำแหน่งยีน ทั้งหมดบนจีโนม มีการสร้างฐานข้อมูลและเครื่องมือ ให้เข้าถึงได้ง่าย มีการสร้าง molecular marker ที่วางตำแหน่งแล้วอย่างสมบูรณ์ มีการศึกษาหน้าที่ของยีนแต่ละตัวบนจีโนม มีการค้นหาการเปลี่ยนแปลงรหัสพันธุกรรม (SNP) ที่นำมาใช้ในการปรับปรุงพันธุ์ มีความหลากหลายทางพันธุกรรม มีแหล่งทุนสนับสนุน ได้รับการสนับสนุนจากสถาบันชาติ
Jazzman, a new aromatic rice from LSU
ปัจจัยการทำวิจัย 1. โจทย์วิจัย 2. ทุนวิจัย (Financing) 3. เทคนิค,เทคโนโลยี,วิทยาการ (Methodology, technology) 4. วัตถุดิบ(Raw material, Germplasm) 5. นักวิจัย (Researcher)และขีดความสามารถ, การบริหารและวัฒนธรรม 6. เครื่องมือวิจัยและสิ่งอำนวยความสะดวก (Tools & equipments, facilities)
การวิเคราะห์ปัจจัยการทำวิจัยข้าว : โจทย์วิจัย 1. โจทย์วิจัย มีโจทย์วิจัยมากมาย น่าสนใจ - จุดวิกฤต ขาดการวิเคราะห์ impact ที่เหมาะสม สับสนโจทย์วิจัยขัดแย้งกันเอง การจัดลำดับความสำคัญ ขาดการเชื่อมโยง - มักเอาคำตอบมาตั้งเป็นสมมุติฐานงานวิจัย
การวิเคราะห์ปัจจัยการทำวิจัยข้าว : ทุนวิจัย 2. ทุนวิจัย (Funding) - ปริมาณทุนวิจัยของทั้งประเทศและข้าวยังอยู่ในระดับต่ำ-ปานกลาง - ชนิดของทุนวิจัย - ระยะสั้น (1-2 ปี) - ระยะปานกลาง (3- 4 ปี) - ระยะยาว (>5ปี) - ความคาดหวัง (Cost-benefit ratio impact) สูงมาก - ระยะเวลาการให้ทุน+ความยั่งยืน, ความมั่นคง สั้นและไม่มั่นคง - การให้ทุนวิจัยที่กระจัดกระจาย
การวิเคราะห์ปัจจัยการทำวิจัยข้าว : เทคโนโลยี, วิทยาการ 3. เทคโนโลยี, วิทยาการ - มีอยู่แล้ว - ติดสิทธิบัตรหรือไม่ - ต้องพัฒนาขึ้นใหม่ - ขาดการถ่ายทอดสู่ real sector
การวิเคราะห์ปัจจัยการทำวิจัยข้าว : วัตถุดิบ 4. วัตถุดิบ ฐานพันธุกรรม - มีมาก บางชนิดมีน้อย(ต้องนำเข้า) -เข้าถึงยาก - การใช้ฐานพันธุกรรมต่างประเทศ * ข้อจำกัดในการนำเข้าส่งออก(การแลกเปลี่ยนเมล็ด)
การวิเคราะห์ปัจจัยการทำวิจัยข้าว : นักวิจัย 5. นักวิจัย - นักวิจัยพื้นฐาน - นักปรับปรุงพันธุ์ - นักสรีรวิทยา - นักโรคพืช - นักกีฏวิทยา - นักโภชนาการ - นักวิทยาศาสตร์อาหาร - นักสังคม - นักเศรษฐศาสตร์ นักวิจัยต้นน้ำ นักวิจัยกลางน้ำ นักวิจัยปลายน้ำ
การวิเคราะห์ปัจจัยการทำวิจัยข้าว(ต่อ) ชนิดของนักวิจัย - นักวิจัย (หัวคิด) - ผู้ช่วยนักวิจัย - นักเทคนิค (นักปฏิบัติ) - นักศึกษา นักเรียน ในหน่วยงานควรมีนักปรับปรุงพันธุ์กี่คน
จำนวนผู้เชี่ยวชาญแต่ละช่วงอายุตามความเชี่ยวชาญด้านข้าว เศรษฐกิจ จำนวนผู้เชี่ยวชาญแต่ละช่วงอายุตามความเชี่ยวชาญด้านข้าว 18 เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว 2 1 9 3 16 เทคโนโลยีการผลิต, การปรับปรุงพันธุ์พืช 1 3 5 4 14 3 5 2 12 เทคโนโลยีการผลิต 10 เครื่องจักรกลทางการเกษตร 2 1 8 1 3 2 1 3 2 การพัฒนาคุณภาพข้าว 6 1 2 1 3 4 การพัฒนาการใช้ประโยชน์จากข้าว 2 การปรับปรุงพันธุ์พืช 1 การพัฒนาคุณภาพข้าว, การพัฒนาการใช้ประโยชน์จากข้าว 28-30 31-35 36-40 41-45 46-50 51-55 56-60 61-65 66-70 ศูนย์ความเป็นเลิศแห่งนวตกรรมข้าว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สงวนลิขสิทธิ์
การวิเคราะห์ปัจจัยการทำวิจัยข้าว : เครื่องมือวิจัย (Tools, equipments) 6. เครื่องมือวิจัย(Tools, equipments) - ถูกจำกัดมากด้วยทุน - Access ยาก(การเข้าถึง)ใช้ไม่คุ้มค่า
การขับเคลื่อนงานวิจัยสู่ความสำเร็จ 1. ไม่มีข้อจำกัดในปัจจัยการวิจัย 2. การบริหารงานวิจัยและการกำกับ - การบริหารบุคคล - การบริหารการเงิน - การบริหารเวลา - การประเมินผลงานวิจัย - การให้รางวัล / ลงโทษ
3. การเชื่อมโยงงานวิจัยต่างๆให้สอดคล้องและมีทิศทาง (Alignment) - การแลกเปลี่ยนความรู้ - วางแผนร่วมกัน - ส่งต่อผลงานวิจัย 4. การถ่ายทอดงานวิจัย 5. การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา