นโยบายและเป้าหมายในการบริหาร ระบบเศรษฐกิจ 1. เป้าหมายในการบริหารเศรษฐกิจ 2. นโยบายในการบริหารเศรษฐกิจ 3. Thaksinomics
ความแตกต่างระหว่างบริหารธุรกิจและบริหารประเทศ นายกรัฐมนตรี CEO ระบบเศรษฐกิจ บริษัท เป้าหมาย ? เป้าหมาย ? กำไรสูงสุด ส่วนแบ่งตลาดสูงสุด
วัตถุประสงค์ในการจัดการระบบเศรษฐกิจ 1. จัดสรรทรัพยากร ( reallocation of resources) 2. เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ( economic stability ) 3. การเติบโตทางเศรษฐกิจ ( economic growth) 4. การจ้างงานเต็มที่ ( full employment) 5. การกระจายรายได้ ( income redistribution) 6. เสริมสร้างคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม
วัตถุประสงค์ในการศึกษาเศรษฐศาสตร์ 1. เพื่อเข้าใจการทำงานของระบบเศรษฐกิจ 2. อธิบายปรากฎการณ์หรือปัญหาทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น 3. นำเสนอนโยบายในการแก้ปัญหา 4. นำเสนอนโยบายในการพัฒนาเศรษฐกิจ
นโยบาย, เครื่องมือ และวัตถุประสงค์ Policy Type Policy Instruments Objectives Fiscal Policy Monetary Policy Exchange-rate Policy Overall Level of Economic Activities Macroeconomic Policy Competitive Policy Industrial Policy Labour Market Policy Trade Policy Allocation of Resources Across Activities Microeconomic Policy Income Redistribution Education Health Distribution of Resources Across Regions/Individuals Social Policy
ตัวอย่างการแก้ปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจ นโยบายการเงิน (Monetary Policy) นโยบายการคลัง (Fiscal Policy) นโยบายอัตราแลกเปลี่ยน (Exchange Rate Policy) นโยบายธนาคาร (Banking Policy) Policy Correction Financial Crisis Origins of Crisis Economic Factors Non Economic Factors
Demand Management V.S. Supply Management Consumption Investment Government Spending Net Export GDP Labour Capital Natural Resources Technolocy Infrastructures Supply Management
4,866 = GDP 2543 2,862 Exchange Rate Policy รายจ่ายรวมของประเทศ (2543) = 7,728 GDP 2543 C 2,752 Fiscal Policy Monetary Policy 4,866 I 725 961 G IMPORT 3,290 X 2,862 = Exchange Rate Policy
Thailand’s Growth Rates of Real GDP 2513 - 2545 ชาติชาย ทักษิณ ชวน oil crisis oil crisis/financial cirsis
ตัวอย่าง นโยบายในการแก้ปัญหาเงินเฟ้อ อัตราแลกเปลี่ยน นโยบายการคลัง นโยบายการเงิน นโยบายอื่นๆ ปัญหาเงินเฟ้อ
ดุลการค้า ดุลบัญชีเคลื่อนย้าย และดุลการชำระเงิน
ปรัชญาที่อยู่เบื้องหลังแนวคิดของนักเศรษฐศาสตร์ Rational Expectations กลไกตลาด กลไกรัฐบาล Classic/Neo-Classic Rational Expectations Supply-Side Keynesians Marxists Socialists Post-Keynesians Economic objectives Efficiency stability Growth Income distribution ชวน ทักษิณ
Keynesian Fiscal policy Supply-Side Fiscal policy Democrat Party Republican Party Keynesian Fiscal policy Supply-Side Fiscal policy เพิ่มบทบาทของรัฐ ลดบทบาทภาครัฐ ลดภาษี ลดรายจ่าย เพิ่มรายจ่าย ภาษี
Thaksinomics Dual - Track Policy Social Capitalism การเติบโตทางเศรษฐกิจ เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ความยากจนและ กระจายรายได้ เป้าหมายระยะสั้น เป้าหมายระยะยาว
DUAL –TRACK POLICY TRACK I: นโยบายกระตุ้นการส่งออก TRACK I I : นโยบายกระตุ้นการใช้จ่ายในประเทศ
Social Capitalism รัฐสวัสดิการ (welfare State)
นโยบายในกลุ่ม Social Capitalism โครงการพักหนี้เกษตรกร โครงการกองทุนหมู่บ้าน โครงการธนาคารคนจน โครงการแปลงสินทรัพย์เป็นทุน โครงการปรับโครงสร้างหนี้ภาคประชาชน โครงการ OTOP โครงการตระกูลเอื้ออาทร ฯลฯ
นโยบาย SML 20,000 ล้านบาท หมู่บ้าน L หมู่บ้าน M หมู่บ้าน S 200,000 บาท 250,000 บาท 300,000 บาท 20,000 ล้านบาท
ผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นจาก Thaksinomics 1. หนี้ภาคครัวเรือน 2. เสถียรภาพทางการคลัง 3. เสถียรภาพทางการเงินระหว่างประเทศ
สภาพหนี้สาธารณะของรัฐบาลไทย หนี้ของรัฐบาลไทย (ล้านบาท) 2539 2547 หนี้ในประเทศ 41,000 1,279,282 หนี้ต่างประเทศ 129,000 351,556 1,630,838 รวม 170,000 www.pdmo.mof.go.th
US Budget Deficit
source: the Economist : www.economist.com
แนวทางการบริหารงบประมาณภาครัฐ ภาษี กู้ แปรรูปรัฐวิสาหกิจ หารายได้จากที่ราชพัสดุ Shadow Economy เพิ่มรายได้ หนี้สาธารณะ (+ / -) การเติบโตทางเศรษฐกิจ ควบคุมรายจ่าย
แนวทางการแก้ปัญหางบประมาณแผ่นดิน 1. ใช้เงินนอกงบประมาณ โดยผ่านสถาบันการเงินของรัฐ 2. ปฏิรูประบบภาษีอากร
US Budget Deficit