งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบริหารนโยบายเศรษฐกิจมหภาคภายใต้สถานการณ์เศรษฐกิจโลกในปัจจุบัน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบริหารนโยบายเศรษฐกิจมหภาคภายใต้สถานการณ์เศรษฐกิจโลกในปัจจุบัน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบริหารนโยบายเศรษฐกิจมหภาคภายใต้สถานการณ์เศรษฐกิจโลกในปัจจุบัน
สัมมนารำลึก ‘อ.ป๋วย’ การบริหารนโยบายเศรษฐกิจมหภาคภายใต้สถานการณ์เศรษฐกิจโลกในปัจจุบัน สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 10 มีนาคม 2551

2 ประเด็นหลักของเศรษฐกิจโลกในปัจจุบัน
ปัญหา Subprime Credits ในสหรัฐอเมริกา Global Imbalance และค่าเงินดอลลาร์อ่อนตัว ราคาน้ำมัน และเงินเฟ้อโลก Globalization and Decoupling

3 ปัญหา Subprime/Credit Crunch
ขนาดของปัญหาค่อนข้างใหญ่ ทำให้ ศ. U.S. ชะงักหรือถดถอย จากการบริโภคที่ลดลง เริ่มลามไปสู่สินเชื่อกลุ่มอื่น ๆ ส่งผลเป็นระลอก ๆ ในระยะ 1-2 ปีข้างหน้า ผลกระทบต่อ ศ. โลกและ ศ. ไทย ขึ้นกับ Decoupling วิธีการแก้ปัญหาของสหรัฐ

4 ความไม่สมดุลของเศรษฐกิจโลก (Global Imbalance)
ปัญหาคือ อเมริกาขาดดุลบัญชีเดินสะพัดขนาดใหญ่ (6% GDP) ต่อเนื่องยาวนาน หลายชาติในเอเชียสะสมทุนสำรองไว้มากเกินไป มีส่วนทำให้ US ขาดดุลได้ต่อเนื่อง แม้จะช่วยทำให้เศรษฐกิจโลกโตในระยะหลายปีที่ผ่านมา แต่การปรับตัวที่ต้องเกิดขึ้นจะเจ็บปวด (เช่นค่าเงินดอลลาร์อ่อนในปัจจุบัน) ปัจจุบันอยู่ระหว่างการการปรับตัว อเมริกาลดการบริโภค เงินดอลลาร์อ่อนค่า ส่งออกเพิ่มขึ้น เอเชียเพิ่มการใช้จ่ายภายในทั้งการบริโภคและลงทุน การลงทุนที่เพิ่มใน emerging economies ถือเป็น the best sign ของปีนี้

5 ราคาน้ำมันโลก: สภาพปัญหา
ราคาขยับสูง แม้ปรับด้วยผลการอ่อนค่าของดอลลาร์แล้ว ปัญหาจากทั้ง demand side และ supply side Demand side = global demand ปรับสูงจากการใช้พลังงานของประเทศเกิดใหม่ Supply side = ปัญหา low response ของ traditional supply ผลคือเกิด structural shortage ของพลังงานรูปแบบดั้งเดิม จำเป็นต้องหาพลังงานรูปแบบใหม่ (นิวเคลียร์, bio-fuel)

6 เงินเฟ้อโลก มาจาก เป็น real threat เพราะอาจเป็น medium-term phenomena
ราคาน้ำมัน ราคา commodity เงินเฟ้อจีน เงินเฟ้ออเมริกา (นโยบายอัดฉีดเงิน ดอลลาร์อ่อนเร็วเกิน) เป็น real threat เพราะอาจเป็น medium-term phenomena

7 ราคาอาหารโลกมีแนวโน้มสูงขึ้น ตั้งแต่ปี 2006

8 Decoupling of World Growth
หมายถึงการที่เศรษฐกิจโลกลดการอิงกับ ศ. สหรัฐ ต่างคนต่างโต ถ้าเป็นจริง จะช่วยลดผลกระทบของ subprime ต่อ ศ. โลกได้มาก อาจเป็นจริง เพราะ เริ่มมีสัญญาณของ growth ที่แตกทิศทางกันมากขึ้น การค้ากันเองภายในภูมิภาค (ยุโรป เอเชีย) มีแนวโน้มเพิ่ม และอาจเพิ่มเร็วมากใน ปีข้างหน้า จีน อินเดีย รัสเซีย เริ่มกลายเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจแห่งใหม่

9 Decoupling of World Growth
อาจไม่จริง เพราะ สัญญาณ growth แตกทิศ เป็นเพราะ US ยังนำเข้าสูงอยู่ การค้าในภูมิภาค ตลาดสุดท้ายยังเป็น US เป็นหลัก รวมทั้งกรณีไทยด้วย (งานวิจัย ธปท. ถ้า US ลดการนำเข้าขนานใหญ่ จีนอาจยังรอด เอเชียอื่น ๆ (รวมไทย) ถูกกระทบปานกลาง ญี่ปุ่นถูกกระทบหนัก

10 โจทย์เศรษฐกิจปี 2551 Highly Uncertain External Demand, with Severe Downside Risks Growing Momentum in Internal Demand, but Sentiment is still Weak Stimulate or Not Stimulate? Now or Later? How? What about Stability (inflation, exchange rate)?

11 นโยบายเศรษฐกิจรัฐบาล PPP
รัฐบาลใช้นโยบายประชานิยมอีกครั้ง โครงการกองทุนหมู่บ้าน SML พักหนี้เกษตรกร โครงการเอื้ออาทรต่าง ๆ เพิ่มการขาดดุลโดยการลดภาษีประมาณ 40,000 ล้านบาท รวมของเดิมเป็นขาดดุลประมาณ 2.2% ของ GDP (พอ ๆ กับช่วงวิกฤติเศรษฐกิจ 2540) เน้น Growth มากกว่า Stability (คำสัมภาษณ์ รมว. คลัง)

12 เปรียบเทียบการขาดดุลการคลัง กับช่วงวิกฤติเศรษฐกิจ

13 การบริหารเศรษฐกิจนโยบายเศรษฐกิจ

14 นโยบายมหภาคที่ควรเป็น
นโยบายการคลัง กระตุ้นเศรษฐกิจอย่างมี ‘สติ’ และไม่หวังผลการเมืองเกินควร คำนึงถึงเสถียรภาพทางเศรษฐกิจพร้อมกันไปด้วย (ไม่ใช่ทีหลัง) นโยบายการเงิน ใช้กรอบ flexible inflation targeting ที่เน้นความเข้าใจของสาธารณชนด้วย ใช้ capital controls เมื่อจำเป็นจริง ๆ เท่านั้น และเป็น evidence-based สร้าง infrastructure รอบใหม่ Physical infrastructure Legal infrastructure Knowledge infrastructure

15 การเมืองกับเศรษฐกิจ ในอดีต การเมืองกับเศรษฐกิจมหภาคแยกกันอยู่
การเมืองหลายกลุ่ม ธุรกิจหลายกลุ่ม แยกกลุ่มกัน ความสัมพันธ์เป็นแบบใยแมงมุม ทำให้การเปลี่ยนรัฐบาลไม่กระทบแนวนโยบายเศรษฐกิจ ปัจจุบัน การเมืองเริ่ม ‘นำ’ เศรษฐกิจ ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มการเมืองกับกลุ่มธุรกิจแนบแน่นขึ้น (อาจเป็นกลุ่มเดียวกัน) และไม่เป็นใยแมงมุม แต่เป็นลักษณะจับขั้ว

16 Coordination Matters โลกปัจจุบันมี interactions กันสูงมากระหว่าง economic agents ต่าง ๆ Linkages เพิ่มมากขึ้น (globalization, localization) Information cost ลดลง, speed of communication เพิ่มขึ้น Coordination จึงสำคัญมากขึ้นเรื่อย ๆ เพื่อรับประโยชน์จาก increased interactions เพื่อรับประโยชน์จาก economy of scale ถ้าแก้ปัญหา coordination failure ได้ จะมี head start และเป็น winner ในที่สุด ตัวอย่าง coordination ที่สำคัญ การประสานระหว่างนโยบายการคลังและนโยบายการเงิน การลงทุน & นโยบายอุตสาหกรรมแบบ cluster การร่วมมือ/เรียนรู้ ระหว่างข้าราชการภาครัฐกับนักธุรกิจภาคเอกชน


ดาวน์โหลด ppt การบริหารนโยบายเศรษฐกิจมหภาคภายใต้สถานการณ์เศรษฐกิจโลกในปัจจุบัน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google