โครมาโตกราฟี โครมาโตกราฟี คือ การแยกสารโดย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิธีสารแยกสารเนื้อผสม การใช้มือหยิบออก,เขี่ยออก
Advertisements

โครงงานคอมพิวเตอร์.
สมดุลเคมี.
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
การกำหนดตารางการผลิตหลัก (Master Production Scheduling)
ลิมิตและความต่อเนื่อง
3. ของเหลว 3.1 สมบัติทั่วไปของของเหลว ความดันไอ จุดหลอมเหลว และ
MTE 426 การวิเคราะห์ตำแหน่ง พิเชษฐ์ พินิจ 1.
ตัวอย่างกิจกรรมการทดลอง โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย
ความกระด้างทั้งหมดของน้ำ
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
การพัฒนาเว็บ.
Microsoft Excel 2007.
อสมการ.
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
Fuel cell Technology  เซลล์เชื้อเพลิง.
Forensic discrimination of blue ballpoint pen inks based on
ลำโพง (Loud Speaker).
หน่วยที่ 5 หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
Application of Graph Theory
แก้ว แก้วเป็นวัสดุที่มีลักษณะพิเศษ ซึ่งไม่มีวัสดุวิศวกรรมใดเหมือน เพราะเป็นวัสดุที่โปร่งใส แข็งที่อุณหภูมิห้อง พร้อมกันนั้นมีความแข็งแรงเพียงพอและทนทานต่อการกัดกร่อนในสภาพแวดล้อมต่างๆ.
ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
การจำแนกบรรทัดข้อความ
เฉลยแบบฝึกหัด วิธีทำ.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
สารอาหารที่ถูกมองข้าม
บทที่ 7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูล
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
การใช้ใบสับปะรดในอาหารผสมเสร็จสำหรับโครีดนม
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
ประกาศการทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4209 (พ. ศ
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
ชุดทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันที่ใช้ทอด
การวิจัยและพัฒนาสารสกัดสมุนไพร โดย ภก.สมนึก สุชัยธนาวนิช
Principle of Graphic Design
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
เครื่องถ่ายเอกสาร.
วิชาวิทยาศาสตร์ (ว31101 )ชั้น ม. 1
กระบวนการแพร่และออสโมซิส The process of diffusion and osmosis.
การกำจัดขยะโดยใช้หลัก 3R
Ethernet (802.3) มาตรฐานข้อกำหนดคุณสมบัติของ โปรโตคอล Ethernet
ความหมายของวิทยาศาสตร์
น้ำมันรำข้าวและจมูกข้าว
การจำแนกประเภทของสาร
การจัดองค์ประกอบของภาพ
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
ซ่อมเสียง.
การอ่านเชิงวิเคราะห์
หน่วยที่ 8 การตกแต่งภาพถ่าย
วิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในเกลือบริโภค
หน่วยส่งออก หน่วยส่งออก คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของ อักขระ ข้อความ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่งคอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ผ่านอุปกรณ์ของหน่วย.
การวิเคราะห์ดิน นางกาญจนาภรณ์ พรรณกมลกุล นางสาวพัชรา แสนสุข
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
เรื่อง จัดทำโดย กราฟ นายเทวา หาระโคตร ปวช.2 กลุ่ม.2 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ
โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย
แบบสอบถามที่ดี ผู้ตอบจะตอบอย่างสะดวกใจมากกว่าการสัมภาษณ์
กิจกรรมพื้นฐานทางเคมี
หัวข้อเรื่อง Bache et al. ทำการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความ เข้มข้นของสารโพลีคลอริเนท ไบฟีนิล (polychlorinated biphenyl, PCB) ในปลาเทร้าอายุ ต่างๆ ที่จับได้ในทะเลสาบคายูก้า.
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
ความชันและสมการเส้นตรง
โรงเรียนวังไกลกังวล หัวหิน
ประกาศการทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4210 (พ. ศ
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครมาโตกราฟี โครมาโตกราฟี คือ การแยกสารโดย อาศัยหลักการที่ว่า สารแต่ละชนิดมีความสามารถในการละลายและดูดซับได้ไม่เท่ากัน และเหมาะอย่างยิ่งในการใช้กับสารที่มีปริมาณน้อยๆ

จากรูป แสดงการแยกจุดสี ออกเป็นสาร 3 ชนิด คือ ก ข ค โดยวิธีโครมาโต กราฟีแบบกระดาษ

หลักของโครมาโตกราฟี 1. โครมาโตการฟี ทำให้สารแยกออกจากกันได้ เพราะสารแต่ละชนิดมีความสามารถในการละลายและดูดซับได้ไม่เท่ากัน 2. โครมาโตกราฟี เหมาะกับสารที่มีปริมาณน้อย แต่ถ้ามีปริมาณมากก็สามารถทำได้โดยใช้โครมาโตกราฟีแบบอื่นๆ 3. จากรูปด้านบน เรียงลำดับความสามารถในการละลายได้ ก > ข > ค 4. ความสามารถในการดูดซับ ค > ข > ก 5. ดังนั้น สารที่ละลายดี ดูดซับจะไม่ดี และเคลื่อนที่ได้ไกล แต่สารที่ดูดซับดี จะละลายได้ไม่ดี และเคลื่อนที่ได้ไม่ไกล

6.ในการทดลองทุกครั้งต้องปิดฝา เพื่อป้องกันตัวทำละลายแห้ง ในขณะเคลื่อนที่บนตัวดูดซับ 7. ลำดับความสามารถในการละลาย การดูดซับอาจเปลี่ยนแปลงได้ ถ้าเปลี่ยนตัวทำละลายใหม่ 8. ถ้าสารเคลื่อนที่ได้ 3 จุด สรุปได้แค่ว่ามีสาร อย่างน้อย 3 ชนิด 9. ถ้าสารเคลื่อนที่ใกล้เคียงกันมาก แสดงว่ามีความสามารถในการละลายและดูดซับได้ใกล้เคียงกัน สามารถแก้ไขได้โดยการ เปลี่ยนตัวทำละลายใหม่ หรือ เพิ่มความยาวของตัวดูดซับ

10. วิธีนี้สามารถทำสารให้บริสุทธิ์ได้ โดยการตัดแบ่งสารตัวที่ต้องการละลายในตัวทำละลายที่เหมาะสมแล้วระเหยตัวทำละลายนั้นทิ้งไป แล้วนำสารนั้นมาทำโครมาโตกราฟีใหม่จนได้สารที่บริสุทธิ์

11. การคำนวณค่า Rf (Rate of flow) ระยะทางที่เคลื่อนที่ได้ = ระยะทางหลังสุด - ระยะทางเริ่มต้น

12. ค่า Rf ไม่มีหน่วย และมีค่าสูงสุดเท่ากับ 1 13. ค่า Rf เป็นค่าที่บอกการเคลื่อนที่ของสาร สารใดมีค่า Rf สูงแสดงว่าสารนั้นเคลื่อนที่ได้ไกล 14. เนื่องจากค่า Rf มีได้ไม่แน่นอนจึงต้องหาจากผลการทดลองเท่านั้น 15. ค่า Rf สามารถนำไปวิเคราะห์ชนิดของสารได้ โดยการนำค่าที่ได้ไปเปิดเทียบกับตาราง ***16. สารที่เคลื่อนที่ได้ระยะทางเท่ากันในตัวทำละลายและตัวดูดซับเดียวกัน มักจะสรุปว่าเป็นสารตัวเดียวกัน แต่บางครั้งก็ไม่แน่เสมอไป

ประเภทของโครมาโตรกราฟีที่ควรรู้จัก โครมาโตรกราฟีแบบคอลัมน์ (Column chromatography) เป็นวิธีที่ใช้ตัวดูดซับบรรจุในคอลัมน์แก้ว โดยนิยมใช้ อลูมินา (Al2O3) หรือ ซิลิกาเจล (SiO2) เป็นตัวดูดซับ

ประเภทของโครมาโตรกราฟีที่ควรรู้จัก 2. โครมาโตกราฟีแบบกระดาษ (Paper chromatography) เป็นวิธีที่ใช้กระดาษโครมาโตกราฟี หรือกระดาษกรอง เป็นตัวดูดซับ

ประเภทของโครมาโตรกราฟีที่ควรรู้จัก 3. โครมาโตกราฟีแบบธินเลเยอร์ (Thin-Layer chromatography) เป็นวิธีที่ใช้กระจกซึ่งฉาบไว้ด้วยอลูมินา (Al2O3) หรือ ผงซิลิกาเจล (SiO2) เกลี่ยให้เรียบบางเหมือนกระดาษโครมาโตกราฟี เป็นตัวดูดซับ

ข้อดีของโครมาโทกราฟี 1. สามารถแยกสารที่มีปริมาณน้อยได้ 2 ข้อดีของโครมาโทกราฟี                 1. สามารถแยกสารที่มีปริมาณน้อยได้                 2. สามารถแยกได้ทั้งสารที่มีสี และไม่มีสี                 3. สามารถใช้ได้ทั้งปริมาณวิเคราะห์ (บอกได้ว่าสารที่แยกออกมา มีปริมาณเท่าใด) และคุณภาพวิเคราะห์ (บอกได้ว่าสารนั้นเป็นสารชนิดใด)                 4. สามารถแยกสารผสมออกจากกันได้                 5. สามารถแยกสารออกจากกระดาษกรองหรือตัวดูดซับโดยสกัดด้วยตัวทำละลาย

ข้อเสีย องค์ประกอบเคลื่อนที่บนตัวดูดซับได้เท่าๆกันหรือเกือบเท่ากันจะ แยกออกจากกันไม่ได้หรือแยกได้แต่ไม่บริสุทธิ์