เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานนำเสนองานวิจัย. เรื่อง พฤติกรรมการใช้จ่าย. ของประชาชนในเขตชุมชน
Advertisements

ความหมายของโครงงาน.
ส่วนประกอบตอนต้น ปก ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย โรงเรียน ชื่อโครงการ เดือน ปี ที่วิจัยเสร็จ คำนำ ส่วนประกอบ ที่มาของรายงาน วัตถุประสงค์ของรายงาน วิจัย.
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เทคนิคการอ่านรายงานการวิจัย
และการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
โครงสร้างของการเขียนรายงานการวิจัย
OUTLINE หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ของงานวิจัย ขอบเขตเนื้อหางานวิจัย
เรื่องการสร้างงานนำเสนอด้วยโปรแกรมPorer point2007
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Routine to Research ไม่ยากอย่างที่คิด โดย
การวางแผนและการดำเนินงาน
Management Information Systems
การวิจัยสถาบัน ดร.จักษ์ พันธ์ชูเพชร
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
หน่วยที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
การจัดกระทำข้อมูล.
การออกแบบการวิจัย.
การเขียนรายงานการวิจัย (เชิงปริมาณ)
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
กระบวนการวิจัยเชิงประเมิน
การเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัย
ศ.ดร.สุมาลี สังข์ศรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
แนวคิดในการทำวิจัย.
วิธีดำเนินการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
กระบวนการวิจัย Process of Research
ใส่ชื่อเรื่องงานวิจัย กะทัดรัด มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม อย่างชัดเจน
การสืบค้นข้อมูลเพื่อทำวิทยานิพนธ์ ให้ประสบความสำเร็จ
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
การเขียนรายงาน.
14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
ข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การเขียนรายงาน.
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
การเขียนรายงานผลการวิจัย
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
การเขียนรายงานการวิจัย (Research Paper)
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การอ่านผลงานวิจัย / เอกสารวิชาการ เพื่อการทำวรรณกรรม ปริทัศน์
การนิยามศัพท์ การทำวิจัยจะต้องมีการนิยามศัพท์ เพราะคำศัพท์มีหลายความหมาย ผู้วิจัยจำเป็นต้องนิยามคำศัพท์ เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจเข้าใจความหมายที่ใช้ในงานวิจัยเรื่องนี้
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
CLASSROOM ACTION RESEARCH
บทที่ 4 ข้อเสนอโครงการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

ประโยชน์ของเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ช่วยให้มองเห็นปัญหาที่จะวิจัยได้กระจ่างขึ้น ช่วยให้ได้แนวคิด ความรู้พื้นฐาน ตลอดจนทฤษฎีต่างๆที่เกี่ยวข้องกับตัวแปรที่ศึกษา ช่วยให้เห็นแนวทางในการศึกษาปัญหาของผู้วิจัย

4. ช่วยในการนิยามปัญหาโดยเฉพาะการกำหนดขอบเขตการวิจัยและการนิยามตัวแปร 5. ช่วยให้การตั้งสมมติฐานได้อย่างสมเหตุสมผล 6.ช่วยให้เลือกกลุ่มตัวอย่างได้อย่างเหมาะสม 7. ช่วยให้เลือกเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลได้ถูกต้อง

8. ช่วยให้สามารถเลือกใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลได้อย่างเหมาะสม 9. เป็นแนวทางในการเขียนรายงาน พวงรัตน์ ทวีรัตน์.2543

ช่วยป้องกันการทำวิจัยซ้ำซ้อนกับคนอื่นๆที่วิจัยไปแล้ว เป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพของเรื่องที่จะวิจัย ทำให้เข้าใจในเรื่องที่จะศึกษาได้อย่างลุ่มลึก บุญชม ศรีสะอาด.2543

ข้อเสนอแนะในการศึกษาเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง พยายามแสวงหาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยให้มากที่สุด ศึกษาเนื้อหาสาระของทฤษฎี แนวคิด หลักการ ผลการวิจัยที่เกี่ยวข้องให้มากๆ ทำความเข้าใจเกี่ยวกับระบบอ้างอิงต่างๆ พิจารณาถึงพัฒนาการของเรื่องที่จะวิจัย ดูความทันสมัยในการนำมาอ้างอิง

4. พิจารณาและคัดเอาส่วนที่มีประโยชน์ต่อการวิจัยของตน 5. ดูความน่าเชื่อของงานวิจัย

แหล่งของการศึกษาเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

3.สารานุกรม (Encyclopedia) - Encyclopedia of Educational Research 1. ตำรา (Text Book) 2. รายงานการวิจัยและปริญญานิพนธ์ (Research Report and Thesis, Dissertation) 3.สารานุกรม (Encyclopedia) - Encyclopedia of Educational Research - International Encyclopedia of the Social Science

5. หนังสือรายปี (Year Book) 4. คู่มือ (Hand Book) Hand Book of Research of Teaching Second Handbook of Research on teaching 5. หนังสือรายปี (Year Book) - The Mental Measurement Year Book

6. หนังสือดัชนี (Indexes) ERIC (Educational Research Information Center) มี 2 ชนิด คือ RIE (Resources in Education) CIJE (Current Index to Journal in Education)

7.เอกสารรวมบทคัดย่อของงานวิจัยและปริญญานิพนธ์ รวมบทคัดย่อปริญญานิพนธ์หรือวิทยานิพนธ์ของมหาวิทยาลัยต่างๆ Dissertation Abstracts International รวมบทคัดย่อจากมหาวิทยาลัยประมาณ 400 แห่ง ปีละประมาณ 30,000 เรื่อง หมวด A, B - Dissertation Abstract Online

9. การสืบค้นด้วยคอมพิวเตอร์ 8. วารสาร (Journal) 9. การสืบค้นด้วยคอมพิวเตอร์ - Data Base, Data Bank - Web site ต่างๆ

ปัญหาที่พบในการประมวลเอกสารเพื่อการวิจัย

1.ขาดการวางสารบัญละเอียดก่อนลงมือเขียน ซึ่งประกอบด้วยหัวข้อใหญ่ รอง เล็กต่างๆ อย่างเป็นระบบ สอดรับกับชื่อเรื่อง และวัตถุประสงค์การวิจัย

2. มีการประมวลแบบแยกส่วนอย่างไม่เหมาะสม ประมวลทฤษฎีไว้หัวข้อหนึ่ง ผลการวิจัยแยกไปอีกหัวข้อหนึ่ง ต้องการประมวลเอกสารเพื่อกำหนดสมมติฐาน แต่ประมวลแยกตัวแปรอิสระ แยกจากตัวแปรตาม

3. ลักษณะการเขียนผลการวิจัยที่เกี่ยวข้องไม่เหมาะสม - เขียนเรียงต่อๆกันแบบ “ขนมชั้น” - เขียนผลการวิจัยไทยไว้ทาง ผลการวิจัยต่างประเทศไว้อีกทาง

วิธีที่เหมาะสม งานวิจัยที่พบผลซ้ำกัน หรือคล้ายคลึงกัน ให้เขียนสรุปผลนั้น และเขียนชื่อผู้วิจัยหลายๆคน พร้อม พ.ศ. หรือ ค.ศ. ที่ทำการวิจัยไว้ในวงเล็บเดียวกัน ถ้าเป็นงานวิจัยที่ให้ผลสำคัญกับหัวข้อที่กำลังประมวล จึงต้องทำการประมวลในรายละเอียด คือ ทำวิจัยเกี่ยวข้องกับอะไร วัดตัวแปรสำคัญอย่างไร วิจัยกับใคร และที่ไหน เป็นต้น

4.หัวข้อผี เป็นหัวข้อของเอกสารเดิมที่อ้างอิงมา เนื่องจากผู้ประมวลอาจคัดลอกข้อเหล่านั้นมาใช้โดยมิได้อ่านแล้วเรียบเรียงใหม่ในสำนวนของตนเอง 5. การอ้างผลวิจัย ควรอ้างต้นฉบับ (primary source) ให้มากที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลวิจัยไทย ส่วนผลวิจัยต่างประเทศต้นฉบับหายาก (classic studies) อาจอนุโลมอ้างอิงจากนักวิชาการไทย