เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ประโยชน์ของเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ช่วยให้มองเห็นปัญหาที่จะวิจัยได้กระจ่างขึ้น ช่วยให้ได้แนวคิด ความรู้พื้นฐาน ตลอดจนทฤษฎีต่างๆที่เกี่ยวข้องกับตัวแปรที่ศึกษา ช่วยให้เห็นแนวทางในการศึกษาปัญหาของผู้วิจัย
4. ช่วยในการนิยามปัญหาโดยเฉพาะการกำหนดขอบเขตการวิจัยและการนิยามตัวแปร 5. ช่วยให้การตั้งสมมติฐานได้อย่างสมเหตุสมผล 6.ช่วยให้เลือกกลุ่มตัวอย่างได้อย่างเหมาะสม 7. ช่วยให้เลือกเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลได้ถูกต้อง
8. ช่วยให้สามารถเลือกใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลได้อย่างเหมาะสม 9. เป็นแนวทางในการเขียนรายงาน พวงรัตน์ ทวีรัตน์.2543
ช่วยป้องกันการทำวิจัยซ้ำซ้อนกับคนอื่นๆที่วิจัยไปแล้ว เป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพของเรื่องที่จะวิจัย ทำให้เข้าใจในเรื่องที่จะศึกษาได้อย่างลุ่มลึก บุญชม ศรีสะอาด.2543
ข้อเสนอแนะในการศึกษาเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง พยายามแสวงหาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยให้มากที่สุด ศึกษาเนื้อหาสาระของทฤษฎี แนวคิด หลักการ ผลการวิจัยที่เกี่ยวข้องให้มากๆ ทำความเข้าใจเกี่ยวกับระบบอ้างอิงต่างๆ พิจารณาถึงพัฒนาการของเรื่องที่จะวิจัย ดูความทันสมัยในการนำมาอ้างอิง
4. พิจารณาและคัดเอาส่วนที่มีประโยชน์ต่อการวิจัยของตน 5. ดูความน่าเชื่อของงานวิจัย
แหล่งของการศึกษาเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
3.สารานุกรม (Encyclopedia) - Encyclopedia of Educational Research 1. ตำรา (Text Book) 2. รายงานการวิจัยและปริญญานิพนธ์ (Research Report and Thesis, Dissertation) 3.สารานุกรม (Encyclopedia) - Encyclopedia of Educational Research - International Encyclopedia of the Social Science
5. หนังสือรายปี (Year Book) 4. คู่มือ (Hand Book) Hand Book of Research of Teaching Second Handbook of Research on teaching 5. หนังสือรายปี (Year Book) - The Mental Measurement Year Book
6. หนังสือดัชนี (Indexes) ERIC (Educational Research Information Center) มี 2 ชนิด คือ RIE (Resources in Education) CIJE (Current Index to Journal in Education)
7.เอกสารรวมบทคัดย่อของงานวิจัยและปริญญานิพนธ์ รวมบทคัดย่อปริญญานิพนธ์หรือวิทยานิพนธ์ของมหาวิทยาลัยต่างๆ Dissertation Abstracts International รวมบทคัดย่อจากมหาวิทยาลัยประมาณ 400 แห่ง ปีละประมาณ 30,000 เรื่อง หมวด A, B - Dissertation Abstract Online
9. การสืบค้นด้วยคอมพิวเตอร์ 8. วารสาร (Journal) 9. การสืบค้นด้วยคอมพิวเตอร์ - Data Base, Data Bank - Web site ต่างๆ
ปัญหาที่พบในการประมวลเอกสารเพื่อการวิจัย
1.ขาดการวางสารบัญละเอียดก่อนลงมือเขียน ซึ่งประกอบด้วยหัวข้อใหญ่ รอง เล็กต่างๆ อย่างเป็นระบบ สอดรับกับชื่อเรื่อง และวัตถุประสงค์การวิจัย
2. มีการประมวลแบบแยกส่วนอย่างไม่เหมาะสม ประมวลทฤษฎีไว้หัวข้อหนึ่ง ผลการวิจัยแยกไปอีกหัวข้อหนึ่ง ต้องการประมวลเอกสารเพื่อกำหนดสมมติฐาน แต่ประมวลแยกตัวแปรอิสระ แยกจากตัวแปรตาม
3. ลักษณะการเขียนผลการวิจัยที่เกี่ยวข้องไม่เหมาะสม - เขียนเรียงต่อๆกันแบบ “ขนมชั้น” - เขียนผลการวิจัยไทยไว้ทาง ผลการวิจัยต่างประเทศไว้อีกทาง
วิธีที่เหมาะสม งานวิจัยที่พบผลซ้ำกัน หรือคล้ายคลึงกัน ให้เขียนสรุปผลนั้น และเขียนชื่อผู้วิจัยหลายๆคน พร้อม พ.ศ. หรือ ค.ศ. ที่ทำการวิจัยไว้ในวงเล็บเดียวกัน ถ้าเป็นงานวิจัยที่ให้ผลสำคัญกับหัวข้อที่กำลังประมวล จึงต้องทำการประมวลในรายละเอียด คือ ทำวิจัยเกี่ยวข้องกับอะไร วัดตัวแปรสำคัญอย่างไร วิจัยกับใคร และที่ไหน เป็นต้น
4.หัวข้อผี เป็นหัวข้อของเอกสารเดิมที่อ้างอิงมา เนื่องจากผู้ประมวลอาจคัดลอกข้อเหล่านั้นมาใช้โดยมิได้อ่านแล้วเรียบเรียงใหม่ในสำนวนของตนเอง 5. การอ้างผลวิจัย ควรอ้างต้นฉบับ (primary source) ให้มากที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลวิจัยไทย ส่วนผลวิจัยต่างประเทศต้นฉบับหายาก (classic studies) อาจอนุโลมอ้างอิงจากนักวิชาการไทย