ผู้วิจัย นางสาวศิริรัตน์ สานุ ผู้นำเสนอ นายภากร แก้วแสน การพัฒนาพฤติกรรมการควบคุมตนเองในการลดน้ำหนักของนิสิตปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาโดยการให้คำปรึกษากลุ่มตามแนวทฤษฎีเผชิญความจริง ผู้วิจัย นางสาวศิริรัตน์ สานุ ผู้นำเสนอ นายภากร แก้วแสน
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา รายงานขององค์การอนามัยโลกปี พ.ศ. 2551 ระบุว่า ประชากรโลก 1,600 ล้านคนน้ำหนักเกิน หรือไม่ก็เป็นโรคอ้วน ส่วนประเทศไทยก็มีสถิติโรคอ้วนเพิ่มขึ้นทุกปี ซึ่งโรคอ้วนเสี่ยง ต่อการเป็นโรคหัวใจ โรคเบาหวาน โรคมะเร็งและโรคอื่นๆ อีก มากมาย การให้คำปรึกษาแบบกลุ่มตามแนวทฤษฎีเผชิญความจริง เป็นวิธีหนึ่งที่สามารถพัฒนาพฤติกรรมการควบคุมตนเองใน การลดน้ำหนักได้ เพราะจะช่วยให้สมาชิกกลุ่มเข้าใจ ยอมรับ สภาพความเป็นจริงของตนเองมากขึ้น และจะพัฒนาพฤติกรรม การควบคุมตนเองในการลดน้ำหนักได้อย่างเหมาะสม
วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาผลของการให้คำปรึกษาแบบกลุ่ม ตามแนวทฤษฎีเผชิญความจริงต่อพฤติกรรมการ ควบคุมตนเองในการลดน้ำหนักของนิสิตระดับ ปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ระหว่างกลุ่มที่ได้รับการให้คำปรึกษา และกลุ่มที่ ไม่ได้รับการให้คำปรึกษาในระยะหลังการทดลอง และระยะติดตามผล
วัตถุประสงค์ของการวิจัย (ต่อ) 2. เพื่อศึกษาผลของการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มตาม แนวทฤษฎีเผชิญความจริงต่อพฤติกรรมการควบคุม ตนเองในการลดน้ำหนักของนิสิตระดับปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ระหว่างกลุ่มที่ ได้รับการให้คำปรึกษาในระยะก่อนได้รับคำปรึกษา ระยะหลังการให้คำปรึกษาและระยะติดตามผล
วัตถุประสงค์ของการวิจัย (ต่อ) 3. เพื่อเปรียบเทียบผลของการให้คำปรึกษาแบบ กลุ่มตามแนวทฤษฎีเผชิญความจริงต่อพฤติกรรมการ ควบคุมตนเองในการลดน้ำหนักของนิสิตชายกับนิสิต หญิงระดับปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
สมมติฐานของการวิจัย 1. มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างวิธีการทดลองกับระยะเวลา ของการทดลองและเพศ 2. นิสิตที่ได้รับการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มตามแนว ทฤษฎีเผชิญความจริงมีพฤติกรรมการควบคุมตนเองต่อ การลดน้ำหนักในระยะหลังการทดลองสูงกว่ากลุ่ม ควบคุม
สมมติฐานของการวิจัย (ต่อ) 3. นิสิตที่ได้รับการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มตามแนว ทฤษฎีเผชิญความจริงมีพฤติกรรมการควบคุมตนเอง ต่อการลดน้ำหนักในระยะติดตามผลสูงกว่ากลุ่ม ควบคุม 4. นิสิตที่ได้รับการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มตามแนว ทฤษฎีเผชิญความจริงมีพฤติกรรมการควบคุมตนเอง ต่อการลดน้ำหนักในระยะหลังการทดลองสูงกว่าใน ระยะก่อนทดลอง
สมมติฐานของการวิจัย (ต่อ) 5. นิสิตที่ได้รับการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มตามแนว ทฤษฎีเผชิญความจริงมีพฤติกรรมการควบคุมตนเอง ต่อการลดน้ำหนักในระยะติดตามผลสูงกว่าในระยะ ก่อนทดลอง 6. นิสิตชายที่ได้รับการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มตาม แนวทฤษฎีเผชิญความจริงมีพฤติกรรมการควบคุม ตนเองต่อการลดน้ำหนักในระยะหลังการทดลอง และ ระยะติดตามผลสูงกว่ากลุ่มควบคุม
สมมติฐานของการวิจัย (ต่อ) 7. นิสิตหญิงที่ได้รับการให้คำปรึกษาแบบกลุ่ม ตามแนวทฤษฎีเผชิญความจริงมีพฤติกรรมการ ควบคุมตนเองต่อการลดน้ำหนักในระยะหลังการ ทดลอง และระยะติดตามผลสูงกว่ากลุ่มควบคุม 8. นิสิตชายและนิสิตหญิงที่ได้รับการให้คำปรึกษา แบกลุ่มตามแนวทฤษฎีเผชิญความจริงมีพฤติกรรม การควบคุมตนเองต่อการลดน้ำหนักแตกต่างกัน
กรอบแนวคิดในการวิจัย
นิยามศัพท์เฉพาะ 1. พฤติกรรมการควบคุมตนเองในการลดน้ำหนัก 2. โปรแกรมการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มตามแนวทฤษฎี เผชิญความจริง 3. ผู้ที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐาน 4. นิสิตปริญญาตรี 5. วิธีปกติ
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับภาวะน้ำหนักเกินมาตรฐานในวัยรุ่น 2. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมกาควบคุมตนเอง 3. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มตามแนว ทฤษฎีเผชิญความจริง
บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวิจัย 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 3. การสร้างและหาคุณภาพเครื่องมือ 4. การดำเนินการทดลอง 5. วิธีการดำเนินการทดลอง 6. การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล
ขอบคุณครับ