Social Organization เพื่อควบคุมแบบแผนแห่งพฤติกรรมของมนุษย์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 2 วัฒนธรรม CULTURE
Advertisements

หลักการจัดองค์การ เป้าหมาย.
สถาบันศาสนา.
การจัดระเบียบสังคม Social Organization
การกระทำทางสังคม (Social action)
หน้าที่ของผู้บริหาร.
ความเดิมจากตอนที่แล้ว
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
หลักการวางแผนประชาสัมพันธ์
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
การจัดระเบียบทางสังคม
การบริหารกลุ่มและทีม
เนื้อหา (กลางภาค) พฤติกรรมมนุษย์ การขัดเกลาทางสังคม
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
พลเมืองดีตามประเพณี และวัฒนธรรมไทย
ชีวิตและวัฒนธรรมไทย
เรื่อง สถาบันการศึกษา
๒ การจัดระเบียบทางสังคม (Social Organization)
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
องค์การสมัยใหม่ (Modern organization) หมายถึง การที่มีกลุ่มคนมาทํางาน ร่วมกันอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้บรรลุเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งองค์สมัยใหม่การมีลักษณะร่วมกันอยู่
องค์การและการบริหาร Organization & Management
ความหมาย ประโยชน์ ลักษณะของทีม
พัฒนาการความสัมพันธ์จากครอบครัวสู่รัฐ
การสื่อสารเพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
The General Systems Theory
ทฤษฎี ความหมาย มีหน้าที่คือ 1.อธิบาย 2.พยากรณ์หรือทำนาย
สังคม ความหมายของ “สังคม” Arnold W. Green กลุ่มคนที่ใหญ่ที่สุด
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
องค์การ Organization.
“การพัฒนากลุ่มเกษตรกรที่ร่วมโครงการฯ ให้เกิดความเข้มแข็ง”
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ไทย ทิพย์สุวรรณกุล
การจัดการศึกษาในชุมชน
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
การปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมทางสังคม
( Organization Behaviors )
๓ สถาบันทางสังคม (Social Institution)
กลุ่มในองค์การ Group in Organization
มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ อาจารย์จิตรลดา วัฒนาพรรณกิตติ
จิตวิทยากับองค์กรธุรกิจอุตสาหกรรม
ขวัญในงานธุรกิจอุตสาหกรรม
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 4 Organization กำหนดโครงสร้างที่เหมาะสม Org.Chart
(Organizational Behaviors)
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
การเผยแพร่องค์ความรู้เรื่อง “รู้ทันนวัตกรรมคอร์รัปชัน”””
สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ GHUM 1103
สังคม โครงสร้างทางสังคม หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่าง กลุ่มคน จำนวนหนึ่ง ซึ่งมีแบบแผนในการปฏิบัติร่วมกัน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายเดียวกัน กลุ่มคน หมายถึง.
ชูศักดิ์ วิทยาภัค คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทบาทหน้าที่ และคุณลักษณะ ของผู้ติดตามตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษา
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
สาระสำคัญของกฏหมายปกครอง
บทที่ 2 ความหมายและลักษณะของชุมชน
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร “ การนิเทศการศึกษา ” สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร 11 – 13 มีนาคม 2552 ณ สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร
สมาชิก นายธนากร กุจิรพันธ์ ม. 4/6 เลขที่3 นายภูวพงษ์ ภุมราพันธุ์ ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
กระบวนการกลุ่ม เครือข่ายการตลาด
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
บทที่ 2 ทฤษฏีจริยธรรม.
บทที่ 5 การตัดสินใจเชิงจริยธรรมในธุรกิจ
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
บทที่1 การบริหารการผลิต
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Social Organization เพื่อควบคุมแบบแผนแห่งพฤติกรรมของมนุษย์ ศึกษาการปะทะสังสรรค์ ปรากฏการณ์ทางสังคม แบ่งเป็น 3 ระดับ 1. ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล

2. ความสัมพันธ์ระดับกลุ่ม 3. การจัดลำดับในสังคม ความเป็นระเบียบในสังคมเกิดจาก 1. ปฏิบัติตามบรรทัดฐาน 2. ปฏิบัติตามสถานภาพ บทบาท

ความหมาย Max Weber Closed System องค์การทางสังคม ระบบการทำกิจกรรมที่มีจุดมุ่งหมาย กลุ่มร่วมมือ Closed System

องค์การประกอบด้วย 1. ความสัมพันธ์ทางสังคม 2. หน่วยงานต่างๆ 3. มีขอบข่ายงานชัดเจน การจัดองค์การมีระเบียบตัวบทกฎหมาย

เพื่อกำหนดพฤติกรรมของบุคคล ทำตามจุดมุ่งหมายขององค์การ Chester I. Barnard องค์การ ระบบความร่วมมือกันทำกิจกรรม

มีจิตสำนึกร่วมกัน มีจุดมุ่งหมายร่วมกัน มีการติดต่อสื่อสารระหว่างกัน มีการตัดสินใจร่วมกัน

Peter M. Blaw & W. R. Scott องค์การทางสังคม โครงสร้างความสัมพันธ์และกระบวนการในสังคม การวิเคราะห์องค์การระดับมหภาค การวิเคราะห์องค์การระดับจุลภาค วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มต่างๆ

Emital Etzionl ศึกษาองค์การเป็นหน่วยหนึ่ง กำหนดเป้าหมายร่วมกัน มีลักษณะสำคัญ 1. แบ่งงานกันทำ 2. มีศูนย์กลางอำนาจ 3. จัดสรรบุคคล

สรุป การศึกษารูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในกลุ่ม ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มสังคมมนุษย์ องค์ประกอบของการจัดระเบียบทางสังคม 1. บรรทัดฐาน ปทัสถาน (Norms)

“Culture as a System of Norms” วัฒนธรรม กำหนดแบบแผนหรือกฎเกณฑ์ในการปฏิบัติ Horton and Hunt “Culture as a System of Norms”

ไพบูลย์ ช่างเรียน สมาชิกในสังคมยึดถือปฏิบัติ มีลักษณะสำคัญ ไพบูลย์ ช่างเรียน ระเบียบ กฎเกณฑ์ แบบพฤติกรรมที่สังคมกำหนด สมาชิกในสังคมยึดถือปฏิบัติ มีลักษณะสำคัญ 1. ทั้งอนุญาตและห้าม 2. ครอบคลุมทั้งสังคมและบังคับเฉพาะกลุ่ม

1. Statistical Norms 2. Culture Norms แบ่งได้ 2 ประเภท ที่มาของบรรทัดฐาน เกิดขึ้นมาพร้อมกับสังคมมนุษย์ ปฏิบัติ งดเว้นปฏิบัติ ค่านิยม ประเพณี ความเชื่อ

1. Folkways ประเภทของบรรทัดฐาน ประเพณี/แนวทางการดำเนินชีวิตที่ปฏิบัติต่อกันมา มีลักษณะพิเศษ สมัยนิยม ความนิยมชั่วครู่ ความคลั่งไคล้ งานพิธี พิธีการ พิธีกรรม มรรยาทการเข้าสังคม

2. Mores ความจำเป็นบุคคลต้องกระทำสิ่งต่างๆ ที่ไม่ขัดประโยชน์ของสังคม กฎศีลธรรมเป็นบรรทัดฐานที่สูงสุด บังคับให้ปฏิบัติ กฎศีลธรรมจึงเป็นข้อห้าม

3. Laws Sanctions 1. Rewards 2. Punishment มีลักษณะกำหนดไว้แน่นอน ทำหน้าที่บังคับให้บุคคลปฏิบัติตาม Sanctions 1. Rewards 2. Punishment

การปฏิบัติตามบรรทัดฐาน 1. การอบรมสั่งสอน 2. การเรียนรู้ทำให้เกิดความเคยชิน 3. เพราะเราได้ประโยชน์ 4. การทำตาม

2. สถานภาพ (Status) Young and Mack สถานภาพคือ ตำแหน่ง (Position) ประสาท หลักศิลา ตำแหน่งหรือหน้าที่การงาน

ประเสริฐ แย้มกลิ่นฟุ้ง สิทธิและหน้าที่ทั้งหมดของบุคคล สรุป ฐานะตำแหน่งของบุคคลในสังคม

1. Ascribed Status Kinship Status Sex Status Ralph Linton ประเภทของสถานภาพ Ralph Linton 1. Ascribed Status Kinship Status Sex Status

Age Status Race Status Regional Status Class status

2. Achieved Status Marital Status Parental Status Education Status Occupational Status

Krech, Crutchfield and Ballachey Political Status 3. บทบาท (Role) Krech, Crutchfield and Ballachey พฤติกรรมที่คาดหวังว่าบุคคลที่อยู่ในสถานภาพนั้นปฏิบัติ

บทบาทของนักศึกษา ต่อสถานการศึกษา ต่อครอบครัว ต่อสังคม

Kimbal Young and Raymond W. Mack 4. สถาบันสังคม (Social Institution) Kimbal Young and Raymond W. Mack A set of norms integrated around a major social function

ประสาท หลักศิลา ระบบสังคมอย่างหนึ่ง ลักษณะสำคัญ 1. สถาบันคงอยู่ 2. สถาบันมีการเปลี่ยนแปลง 3. การดำเนินการที่เป็นระเบียบ

4. เป็นที่พอใจของคนในสังคม 5. พฤติกรรมต่างๆ เป็นลักษณะส่วนรวม สถาบันที่สำคัญ ครอบครัว การศึกษา ศาสนา เศรษฐกิจ

การเมือง การสันทนาการ คณะกรรมการบริหารวิชาการ : พวงเพชร สุรัตนกวีกุล, เฌอมาลย์ ราชภัณฑารักษ์, บรรณาธิการ. 2547. มนุษย์กับสังคม. (พิมพ์ครั้งที่ 5) หน้า 67 -81. ทัศนีย์ ทองสว่าง. 2549. สังคมวิทยา. หน้า 53-76.