ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements

พิชิตโครงงานวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
การขับเคลื่อนการพัฒนากระบวนการคิด
Research and Development (R&D)
: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
โครงงานคืออะไร ??? ติดตามมาเลยนะครับ…..
จุดประสงค์ปลายทาง เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษา ความรู้ในทาง วิทยาศาสตร์ว่ามีความสามารถเปลี่ยนแปลงได้ เมื่อมี หลักฐานและข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้เท่านั้น.
กระบวนการวิจัย(Research Process)
อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
Research Problem ปัญหาการวิจัย
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ สะท้อนธรรมชาติวิทยาศาสตร์
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry process)
แนวคิดการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน มัธยมศึกษาปีที่ 1
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
การศึกษาชีววิทยา.
นายเกียงไกร แปลงไทยสง
สรุปภาพรวมการเรียนรู้ เรื่อง หมุนเวลาพาเพลิน
บทที่ 1 ทักษะกระบวนการ และโครงงานทางวิทยาศาสตร์
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การวางแผนและการดำเนินงาน
เรียนรู้วิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษาปีที่1
การวิจัยสถาบัน ดร.จักษ์ พันธ์ชูเพชร
แนวคิดเกี่ยวกับการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
การวิจัยการศึกษา.
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจ
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
เป้าหมายของหลักสูตร/ การเรียนการสอน วิทยาศาสตร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
กระบวนการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry process)
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
บทที่ 7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูล
การออกแบบการวิจัย (Research Design)
มโนทัศน์เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย
รูปแบบการสอน.
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
สวัสดี ครับ เพื่อนพี่น้องผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน.
ความหมายของวิทยาศาสตร์
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
สรุประบบเทคโนโลยี สมาชิกกลุ่ม 1.น.ส.มยุรี ริยะอุด เลขที่ 1 ม.4.10
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คำอธิบายรายวิชา.
มศว 142 วิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม
แนวทางการสอนเพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบ การสอนแบบโครงงาน/โครงการ
นายณัฐวุฒิ ปานแก้ว รหัส 039 คอม ปวช 1/2
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
กลุ่ม คาวาอี้ ~~ จัดทำโดย ชั้น ม.4.11 นางสาว กรรณิการ์ ใจวัง เลขที่ 7
ฟิสิกส์คืออะไร ฟิสิกส์ เป็นวิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับ พฤติกรรมธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต สสาร พลังงาน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ รวมไปถึง ปรากฏการณ์ที่เกิดตามธรรมชาติต่างๆ.
อบรมปฏิบัติการ จัดทำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
แปลว่าความรู้(Knowledge)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Created by Ms. Lampoei Puangmalai

ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ Sci เป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชาติรอบ ๆ ตัวเรา เพื่อที่จะอธิบายว่าสิ่งต่าง ๆ เหล่านั้นเกิดขึ้นได้อย่างไร ทำงานอย่างไร โดยมนุษย์ใช้กระบวนการสังเกต สำรวจตรวจสอบ และการทดลองเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ และนำผลมาจัดระบบ หลักการ แนวคิด และทฤษฎี

การอธิบายปรากฏการณ์ธรรมชาติ มนุษย์ยังไม่เข้าใจปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในธรรมชาติ ทำให้เกิดความกลัว การศึกษา Sci จะช่วยขจัดความกลัวของมนุษย์ มนุษย์อยู่กับธรรมชาติ การศึกษา Sci จะช่วยพัฒนาการดำรงชีวิตมนุษย์ให้ดีขึ้น

การบันทึกข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ เริ่มต้นจากความเชื่อ คำบอกเล่า ซึ่งยังไม่เป็น Sci ต่อมาได้มีการบันทึกหาความสัมพันธ์ของปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนวิเคราะห์หาข้อสรุป ข้อมูลที่ได้จากการบันทึกอย่างซื่อสัตย์ของนักวิทยาศาสตร์รุ่นก่อน ๆ เป็นพื้นฐานสำหรับนักวิทยาศาสตร์รุ่นต่อ ๆ มา ดังนั้น การศึกษาค้นคว้าข้อมูลทาง Sci ต้องบันทึกอย่างตรงไปตรงมา เพื่อเป็นพื้นฐานในการค้นคว้าต่อไป

ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ได้มาอย่างไร ? ความรู้ทาง Sci ได้มา 2 ทาง คือ ได้จากการสังเกต การบันทึกข้อมูล การทดลอง การวิเคราะห์ข้อมูล และสรุปผล สร้างทฤษฎีใหม่โดยอาศัยความรู้พื้นฐานที่ค้นพบมาแล้ว

วิชาวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์แบ่งออกเป็น 2 แขนงใหญ่ ๆ คือ วิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ หรือวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ 1.1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ 1.2 วิทยาศาสตร์กายภาพ วิทยาศาสตร์ประยุกต์

นักวิทยาศาสตร์ทำงานอย่างไร ? นักวิทยาศาสตร์ต้องใช้ทักษะการสำรวจตรวจสอบอย่างสูงที่จะเข้าใจในสิ่งที่สงสัย ทักษะนั้นเราเรียกว่า ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสังเกต (Observation) การวัด (Measurement) การจำแนกประเภท (Classification) การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปส และสเปสกับเวลา (Space/space Relationships and Space / time Relationships) การใช้ตัวเลข (Using Numbers) การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล (Organizing Data and Communication) การลงความเห็นจากข้อมูล (Inferring)

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การพยากรณ์ (Predicting) การตั้งสมมติฐาน (Formulation Hypothesis) การกำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ (Defining Operationally) การกำหนดและควบคุมตัวแปร (Indentifying and Controlling Variables) การทดลอง (Experimenting) การตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป (Interpreting Data and Making Conclusion)

เจตคติทางวิทยาศาสตร์หรือจิตวิทยาศาสตร์ ความเป็นผู้สนใจใฝ่รู้ อยากหาคำตอบในสิ่งที่สงสัย ความซื่อสัตย์ รวบรวม บันทึก โดยไม่บิดเบือนข้อมูล ความอดทน มุ่งมั่น แม้จะใช้เวลานานในการหาข้อยุติปัญหา การมีใจกว้างยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ความคิดสร้างสรรค์ มีความสงสัยและกระตือลือร้นที่จะหาคำตอบ ยอมรับเมื่อมีประจักษ์พยานหรือเหตุผลที่เพียงพอ

การแสวงหาความรู้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ (scientific Method) การกำหนดปัญหา (Problem) การตั้งสมมติฐาน (Formulation of Hypothesis) การตรวจสอบสมมติฐาน (Testing the Hypothesis) การเก็บรวบรวมข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis) การสรุปผล (Conclusion)

http://cai.md.chula.ac.th/lesson/research/re12.htm

http://io. uwinnipeg. ca/~simmons/1115/cm1503/introscience http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/introscience.htm#The%20Organization%20of%20Life

ทำอย่างไรจึงจะเรียนวิทยาศาสตร์ได้ดี มีความกระตือลือร้นที่จะเรียนรู้ คิดค้นหาวิธีการตอบคำถามหรือข้อสงสัย เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือในการสังเกต วัดและบันทึกข้อมูลอย่างตรงไปตรงมา จัดกลุ่มข้อมูลที่สำรวจตรวจสอบได้ นำผลที่ได้จากการสำรวจตรวจสอบไปใช้ในชีวิตจริงได้ ร่วมแสดงความคิดเห็นเมื่อเรียนเป็นกลุ่ม และยอมรับความคิดเห็นของกลุ่ม นำเสนอผลงานให้ผู้อื่นเข้าใจ

References สุพจน์ แสงมณี และชานนท์ มูลวรรณ. วิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 4 (ม.4-6). กรุงเทพฯ : ประสานมิตร, 2546. ://cai.md.chula.ac.th/lesson/research/re12.htm http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/introscience.htm#The%20Organization%20of%20Life

Thank you Miss Lampoei Puangmalai Major of biology Department of science St. Louis College Chachoengsao