การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชนิดของข้อมูลในโปรแกรม Interactive C
Advertisements

อาจารย์ปิยศักดิ์ ถีอาสนา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
ประเภทของข้อมูล Excel 2007
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
BC320 Introduction to Computer Programming
ข้อผิดพลาดของโปรแกรม และตัวดำเนินการ
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
คำสั่งแบบเลือกทำ Week 6.
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
Visual Basic 6 By Samaporn Yendee VB6.
PHP LANGUAGE.
Lab 3: คำสั่งพื้นฐานสำหรับการรับและการแสดงผลข้อมูล
อาเรย์ (Array).
การเขียนโปรแกรม ASP การประกาศตัวแปร
ตัวดำเนินการ (Operator) คือสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายแทนการกระทำกับข้อมูล เพื่อบอกให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทราบว่าจะต้องดำเนินการใดกับข้อมูลใดบ้าง แบ่งออกเป็น.
หน่วยที่ 5 ตัวดำเนินการ (Operators)
การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
Php Variable , Expression Professional Home Page :PHP
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
บทที่ 3 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
บทที่ 2 ประเภทข้อมูล (DATA TYPE)
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ตัวแปรและชนิดข้อมูล (Variables and Data Types)
การใช้งานเบื้องต้นของเครื่องคิดเลขทางการเงิน
หน่วยที่ นิพจน์ในภาษา C
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
ตัวดำเนินการ(Operator)
บทที่ 7 คำสั่งสำหรับเขียนโปรแกรม
บทที่ 3 ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ตัวอย่างการวิเคราะห์งาน และ การเขียนผังงานและซูโดโค้ด
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
นิพจน์และตัวดำเนินการ
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
เครื่องหมายและการดำเนินการ ในภาษา C
ตัวแปร ชนิดข้อมูล และ ตัวดำเนินการใน PHP
โจทย์วิเคราะห์ปัญหาที่ 1
การเขียนโปรแกรม ตอนที่ 1 (ต่อ)
Operators ตัวดำเนินการ
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
ตัวดำเนินการ และนิพจน์คณิตศาสตร์
คำสั่งทำซ้ำ for คำสั่ง for เป็นคำสั่งทำซ้ำในลักษณะ Definite loop คือทราบจำนวนรอบที่แน่นอนในการทำงาน ซึ่งจะใช้ตัวแปร 1 ตัวในการนับจำนวนรอบว่าครบตามกำหนดหรือไม่
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
บทที่ 9 พอยเตอร์. สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อ การศึกษาเท่านั้น พอยเตอร์ (Pointer) พอยเตอร์คือต้นฉบับของชนิดข้อมูล เป็นชนิด ข้อมูลที่สร้างจากข้อมูลมาตรฐานชนิดหนึ่ง.
อาจารย์ปิยศักดิ์ ถีอาสนา
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
Flowchart การเขียนผังงาน.
การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
CHAPTER 2 Operators.
การเตรียมข้อมูล (Data preparation)
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม บทที่ 3 การคำนวณทางคอมพิวเตอร์

การคำนวณทางคอมพิวเตอร์ การคำนวณของมนุษย์จะพิจารณาจากซ้ายไปขวาของโจทย์ คอมพิวเตอร์คำนวณตามความสำคัญของเครื่องหมาย มนุษย์อาจเก็บผลลัพธ์หรือตัวทดไว้ในสมอง คอมพิวเตอร์ต้องจัดหาสิ่งที่เรียกว่าตัวแปรมารองรับ

ความสำคัญของเครื่องหมาย ต่อไปนี้เป็นความสำคัญของเครื่องหมายทางคณิตศาสตร์เริ่มจากสูงสุดไปต่ำสุด วงเล็บ ( ) สำคัญมากที่สุด ยกกำลัง ^ คูณ หรือ หาร / * บวก หรือ ลบ + - สำคัญน้อยที่สุด ถ้าเครื่องหมายเหมือนกันจะทำด้านซ้ายก่อน

Example โจทย์ให้คำนวณ 5 + 10 / 2 วิเคราะห์ : มีเครื่องหมายคือ + และ / หารมีความสำคัญสูงกว่า ดังนั้นทำหารก่อน ผลคือ 5 + 10 / 2 คำตอบคือ 10 ขั้นที่ 1. คำนวณ 10 / 2 = 5 ขั้นที่ 2. คำนวณ 5 + 5 = 10 1 2

Example คำนวณ ( 100 / 5 ) * 2 ^ 3 = ? ทำในวงเล็บก่อน แล้ว ยกกำลัง ตามด้วยคูณ ( 100 / 5) * 2 ^ 3 ขั้นที่ 1. คำนวณ 100 / 5 = 20 ขั้นที่ 2. คำนวณ 2 ^ 3 = 8 ขั้นที่ 3 คำนวณ 20 * 8 = 160 คำตอบคือ 160 1 2 3

Practice จงคำนวณหาคำตอบ 50 / 5 ^ 2 + (3 - 2) = ? ((4 / 2)^2)*(20 + 8) / 4 = ?

แปลงสูตรให้เป็นการคำนวณ การแปลงสูตรเป็นหน้าที่ของโปรแกรมเมอร์ ที่ต้องแปลงให้ถูกต้องตามลำดับการคำนวณ เพื่อให้ได้คำตอบที่ต้องการ การคำนวณอาจต้องมีการเพิ่มเติมเครื่องหมายเพื่อจัดลำดับของการคำนวณใหม่ ตัวอย่าง ให้คำนวณหาโบนัส ซึ่งเท่ากับ 5 เท่าของเงินเดือน โบนัส = เงินเดือน * 5 ตัวอย่าง ให้คำนวณหาราคาสินค้า 5000 บาทเมื่อรวมภาษีมูลค่าเพิ่ม 7 % ราคาสุทธิ = ราคาสินค้า + ราคาสินค้า * 7 / 100 = 5000 + 5000 * 7 / 100 = 5350

Example ให้คำนวณหาราคาสินค้าเมื่อลด 50% ราคาสินค้า 50% = ราคาสินค้า * 50 / 100 ราคาสินค้า 200 บาท ราคาสินค้า = 200 * 50 / 100 = 100 คำว่า % ในสูตรต่างๆ ต้องนำ % คูณกับแหล่งที่มาเสมอ เช่น 50% ของค่าใช้จ่าย = ค่าใช้จ่าย * 50 / 100 10% ของเงินเดือน = เงินเดือน * 10 / 100

Tips การคำนวณยอดชำระสุทธิ ยอดสุทธิ = ยอดชำระก่อนหักส่วนลด - ส่วนลด โดยที่ ยอดชำระก่อนหักสวนลด = ราคา * จำนวน ส่วนลด = ยอดชำระก่อนหัก * ส่วนลด รวม ยอดสุทธิ = (ราคา * จำนวน) - ((ราคา * จำนวน) * ส่วนลด))

Example จงหายอดชำระเมื่อหักส่วนลด 30 % เมื่อซื้อสินค้า 5 ชิ้นราคาชิ้นละ 300 บาท ยอดสุทธิ = (ราคา * จำนวน) - ((ราคา * จำนวน) * ส่วนลด) ยอดสุทธิ = (300 * 5) - ((300 * 5) * 30 / 100) = 1500 - 450 = 1050 บาท

Example จงหายอดชำระเมื่อหักส่วนลด 30 % เมื่อซื้อสินค้า 5 ชิ้นราคาชิ้นละ 300 บาท คิดใหม่จากสูตร ยอดสุทธิ = (ราคา * จำนวน) * (100 - เปอร์เซ็นต์) / 100 ยอดสุทธิ = (ราคา * จำนวน) * 70 / 100 ยอดสุทธิ = (300 * 5 * 70 / 100) = 1050 บาท เท่ากันหรือไม่

ตัวแปร : Variable ตัวแปร คือ แหล่งเก็บข้อมูล ที่จะนำไปใช้ในการทำงานของโปรแกรม อันที่จริงอาจหมายถึงหน่วยความจำตำแหน่งหนึ่ง ที่ถูกกันไว้สำหรับเก็บข้อมูลชั่วคราว ชนิดของตัวแปร ตัวแปรตัวอักษร(String) ตัวแปรตัวเลข(Number) ตัวแปรตรรกะ(Boolean) ตัวแปรอาเรย์(Array) ตัวแปรตัวชี้(Pointer)

String ตัวแปรในกลุ่มตัวอักษร อาจเป็นข้อความ สัญลักษณ์ หรือตัวเลขที่ไม่ใช้ในการคำนวน Character ตัวแปรเก็บค่าตัวอักษรเพียงตัวเดียว String ตัวแปรเก็บข้อความหรือตัวอักษรได้มากกว่า 1 ตัว

Number ตัวแปรประเภทตัวเลข ซึ่งสามารถนำไปคำนวณได้ Integer เก็บค่าจำนวนเต็ม ไม่มีทศนิยม อาจแบ่งเป็น longinteger หรือ integer Real เก็บค่าจำนวนที่ประกอบไปด้วยทศนิยม ตัวแปรตัวเลขจะมีช่วงของการเก็บค่าของมันเอง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับตัวแปลภาษาจะเป็นตัวกำหนด เช่น integer มีค่าได้ตั้งแต่ -32767 ถึง 32767 ในภาษาปาสคาล

Boolean เป็นข้อมูลชนิดตรรกะ มีค่าได้เพียง 2 แบบ คือจริง(True) และเท็จ(False) เท่านั้น มักใช้ในการเปรียบเทียบ หรือทำงานแบบตรงข้ามกันเช่น on กับ off เป็นต้น

Array เป็นกลุ่มของตัวแปรจำนวนมาก ซึ่งทั้งชุดจะเก็บค่าเดียวกัน เรียกใช้งานโดยระบุ index หรือลำดับที่ ว่าจะใช้ลำดับที่เท่าไร อาจกำหนดให้อยู่ในรูป 1 , 2 หรือ 3 มิติได้ ตัวแปรชนิดนี้มักใช้หน่วยความจำค่อนข้างมาก

Pointer เป็นตัวแปรประเภทตำแหน่งที่อยู่ของข้อมูล ตัวแปรชนิดนี้มักถูกใช้งานในการเขียนโปรแกรมขั้นสูง ผู้ใช้งานต้องมีความชำนาญ เนื่องจากเป็นการเข้าถึงหน่วยความจำโดยตรง หากผิดพลาดจะส่งผลกระทบอย่างรุนแรง

การกำหนดค่า กำหนดให้ตัวแปร A,B,C เป็น integer กำหนดให้ A = 10 อ่านว่า นำ 10 เก็บที่ A B = 50 อ่านว่า นำ 50 เก็บที่ B C = A+B อ่านว่า นำค่า A บวก B แล้ว เก็บไว้ที่ C

จงพิจารณา ให้ A , B , C เป็น integer C = 50.5 ผลคือ ……………Error A = B / C ผลคือ …………..Error ต่อไปนี้ควรเป็นตัวแปรชนิดใด เงินเดือน ชื่อ - นามสกุล หมายเลขโทรศัพท์ รหัสประจำตัว ที่อยู่ อายุ คำตอบ ถูก/ผิด

พิจารณาแล้ว ให้ A , B , C เป็น integer C = 50.5 Error เพราะ C ต้องเก็บจำนวนเต็ม A = B / C Error เพราะผลการหารได้ทศนิยม ต่อไปนี้ควรเป็นตัวแปรชนิดใด เงินเดือน ทศนิยม ชื่อ - นามสกุล ข้อความ หมายเลขโทรศัพท์ ข้อความ รหัสประจำตัว ข้อความ ที่อยู่ ข้อความ อายุ จำนวนเต็ม คำตอบ ถูก/ผิด ตรรกะ

End.