ลักษณะสำคัญของ ภาษาไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
Advertisements

มนุษยสัมพันธ์สร้างสรรค์งาน
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
สนุกกับชนิดของคำไทย ไปกับ อ. พัชรินทร์ พึ่งเนตร
CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI
ตัวสะกดพาเพลิน โดย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช่วงชั้นที่ 1 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
POWERPOINT ประกอบการสอนกลุ่มสาระภาษาไทย
ผู้จัดทำ นางนพมาศ สวัสดินันทน์ ตำแหน่ง ครูผู้สอนวิชาภาษาไทย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
เรื่องความรู้ทางภาษา
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
การแจกลูกและการสะกดคำ โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ.เมือง จ. พะเยา
คำคล้องจอง หนู ปู ดูรูงู ปูนา ขาเก
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ สวัสดี ผมชื่อเฟยเฟย 你好!我是飞飞。
สรุปภาพรวมการเรียนรู้
สร้างสรรค์งานโดย ครูพงศ์ศักดิ์ อินปา
สรุปผลรวมของการเรียนรู้
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
การเพิ่มคำ.
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง พยางค์และคำ
ได้ซิจ๊ะแหม่ม ทำไมจะไม่ได้ล่ะ
คำกริยา.
คำวิเศษณ์.
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
การอ่านออกเสียง ความมุ่งหมายในการอ่านออกเสียง
คำกริยา.
คำนาม สามานยนาม วิสามานยนาม ลักษณนาม สมุหนาม อาการนาม.
คำวิเศษณ์.
เทคนิคการสอนและการใช้สื่อคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
ภาษาไทย เสนอ อาจารย์ฐิตาพร ดวงเกตุ จัดทำโดย
ปาร์เตลโล.
วิชาภาษาไทย เรื่อง คำพ้อง นำเสนอโดย กลุ่ม ๑.
คำทำนายธิเบต สำหรับคุณ
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
ชนิดของคำในภาษาไทย วิชา ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖
ภาษาวิทยุกระจายเสียง
วิชาเลือกเสรี เรื่องภาษาไทย
นิทานภาพเคลื่อนไหว เรื่อง นกน่ารัก คลิกต่อไป.
๒.พยัญชนะท้ายพยางค์“แม่กก”
วิชาคอมพิวเตอร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 นางพวงเพ็ญ อินทร์เอี่ยม
อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ แก้ไขอย่างไรดี
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สงขลา เขต 3
พยัญชนะต้น.
วิชาคอมพิวเตอร์ ง โครงงาน เรื่อง สนุกกับคำ เสนอ
คำบุพบท เป็นคำที่เขียนนำหน้าคำนาม คำสรรพนาม คำกริยา คำวิเศษณ์
มาตราตัวสะกด สื่อการสอนภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
สื่อการเรียนรู้เรื่อง ข้อมูล
คำสรรพนาม จัดทำโดย ด.ช.ธนวัฒน์ เตชะนิรัติศัย เลขที่ 30
การอ่านเชิงวิเคราะห์
ซอฟแวร์ที่น่าสนใจ จัดทำโดย นางสาวจุติภรณ์ ชาญเชี่ยว คณะพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 1 รหัสนิสิต
คำภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย
คาถาสำหรับนักพูด.
โรงเรียนบ้านปลักชะเมา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษายะลา เขต 1
ชนิดของคำ คำอุทาน ครูศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ
การประเมินพัฒนาการทางภาษาตามแนวสมดุลภาษา
การเขียนบทวิทยุกระจายเสียง. ขั้นตอนการเขียนบทรายการวิทยุ ขั้นเริ่มต้นแนวคิด (Begin with idea) จะเป็น การบอกแนวทาง ขอบเขตและการวาง แผนการผลิตในอนาคต.
แม่กม แม่เกย แม่เกอว แม่กน แม่กก แม่กด แม่กบ แม่ ก กา
ประโยคในการสื่อสาร จัดทำโดย ด.ช. อนันต์ ผลทับทิม เลขที่ ๔๓
คำในมาตรา แม่ ก กา แม่ กบ แม่ กก แม่ กง แม่ เกอว แม่ กม แม่ กน แม่ เกย
คำมูล คำมูล คือ คำดั้งเดิมมาแต่แรกเป็นคำเดียวโดด ๆ ซึ่งเจ้าของภาษานั้น ๆ คิดขึ้นเองหรือยืมมาจาก ภาษาอื่น    
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
เรื่อง ประโยค.
มาตราตัวสะกด ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดย อรวสา พยุห์ โรงเรียนอนุบาลระนอง
การออกแบบการเรียนรู้
ที่มาของคำราชาศัพท์ มาจากคำไทย+ภาษาต่างประเทศ บาลี,สันสกฤต,เขมร
พ่อขุนรามคำแหง จัดทำโดย นาย เจษฎากร ลิมปนุสรณ์ นาย เชิงชาย ตะโฉ
สื่อการสอนวิชาคอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ลักษณะสำคัญของ ภาษาไทย

ภาษาไทยมีอักษรเป็นของตนเอง พ่อขุนรามคำแหงได้บัญญัติตัวอักษรไทยขึ้นโดยดัดแปลงแบบที่ใช้กันอยู่ก่อนบ้างนั้น ก็ได้บัญญัติขึ้นเพื่อให้เหมาะสมแก่ภาษาไทยเป็นส่วนมาก แต่แล้วก็ได้มีอักษรเพิ่มขึ้นมา เพื่อถ่ายตัวอักษรภาษาบาลีสันสกฤตซึ่งเขียนต่างกันแต่ออกเสียงเหมือนกัน พระเจ้าวรวงศ์เธอกรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์

ภาษาไทยมีอักษรเป็นของตนเอง ตัวอักษรของไทยที่ใช้ในปัจจุบันมีดังนี้ 1. สระ 2. พยัญชนะ 3. วรรณยุกต์ 4. ตัวเลข

ภาษาไทยแท้เป็นภาษาที่มีพยางค์เดียว คำกริยา ไป มา เดิน นั่ง นอน พูด ปีน คำเรียกชื่อสัตว์ เป็ด ไก่ งู ควาย เสือ ลิง ปลา คำเรียกชื่อสิ่งของ ถ้วย ชาม มีด ผ้า ไร่ นา เสื้อ

ภาษาไทยแท้มีตัวสะกดตามมาตรา ก. คำไทยแท้มีตัวสะกดตามมาตรา และไม่มีการันต์ คือ แม่กก แม่กง แม่กด แม่กน แม่กบ แม่กม แม่เกย แม่เกอว ข. คำที่ไทยยืมมาจากภาษาอื่นจะเขียนตัวสะกดตามรูปเดิมแต่ออกเสียงตามมาตราตัวสะกดของไทย เช่น เลข ครุฑ พิฆาต ภาพ อรัญ

ภาษาไทยมีรูปสระวางไว้หลายตำแหน่ง ก. วางไว้หน้าพยัญชนะ ไป เสแสร้ง แม่ ข. วางไว้หลังพยัญชนะ จะ มา มากมาย ค. วางไว้บนพยัญชนะ ริ ดิถี ปิติ ศรี มี

ภาษาไทยมีรูปสระวางไว้หลายตำแหน่ง ง. วางไว้ข้างล่างพยัญชนะ ครู ปู่ หมู สุข จ. วางไว้ทั้งหน้าและหลังพยัญชนะ เขา เธอ เกาะ ฉ. วางไว้ทั้งข้างหน้าและข้างบนพยัญชนะ เป็น เสียง เชิญ

คำเดียวมีความหมายหลายอย่าง สังเกตได้จาก ปริบท ,หน้าที่ของคำ เขาสนุกสนานกันในห้อง แต่ทำไมเขากันไม่ให้กันเข้าไปในห้อง

ภาษาไทยมีความประณีต การทำให้ขาดจากกัน ตัด หั่น แล่ เชือด เฉือน สับ ซอย การทำให้ขาดจากกัน ตัด หั่น แล่ เชือด เฉือน สับ ซอย การทำให้อาหารสุก ปิ้ง ย่าง ต้ม ตุ๋น นึ่ง ผัด ทอด คั่ว

ภาษาไทยเป็นภาษาเรียงคำ 1. ไม่มีการเปลี่ยนแปลงภายในศัพท์หรือ ท้ายศัพท์ ต่อไปนี้เธอต้องอดทนให้มาก ไม่ใช่รู้จักแต่ทนอดอย่างเดียว

ภาษาไทยเป็นภาษาเรียงคำ 2. ระเบียบการเรียงประโยคในภาษาไทย 2.1 ตามปกติเรียงลำดับ ประธาน กริย กรรม 2.2 คำหรือวลี หรือประโยคขยายคำใดจะอยู่หลังคำนั้น 2.3 ประโยคคำถามไม่เปลี่ยนรูปประโยค 2.4 คำกริยาอาจจะซ้อนกันในประโยคเดียวกันตั้งแต่สองคำขึ้นไป

คำในภาษาไทยมีเสียงสัมพันธ์กับความหมาย ก. คำที่ประสมด้วยสระ เอ เก เข โซเซ รวนเร ข. คำที่ประสมด้วยสระ ออ มี “ม” หรือ “ น” สะกด งอนง้อ อ้อมค้อม น้อม อ้อม

ภาษาไทยเป็นภาษาดนตรี 1.มีคำใช้มากขึ้น มา ม้า หมา, ขาว ข่าว ข้าว 2. มีความไพเราะ ทำให้ผู้ฟังเกิดอารมณ์หรือมองเห็นภาพได้ง่าย ตะลึงเหลียวเปลี่ยวเปล่าให้เหงาหงิม สุชลปริ่มเปี่ยมเหยาะเผาะเผาะผอย

ภาษาไทยเป็นภาษาดนตรี 3. มีจังหวะและคำคล้องจองเป็นประโยชน์ในการเน้นความ และเกิดความกระทัดรัด 4. สามารถเลียนเสียงธรรมชาติ และเลียนสำเนียงภาษาได้ทุกภาษา

ภาษาเขียนมีวรรคตอน ภาษาพูดมีจังหวะ ก. พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสียตำลึงทอง พูดไปสองไพเบี้ย นิ่ง เสียตำลึงทอง ข. ราคาข้าวตกลงเกวียนละ 450 บาท ราคาข้าวตก ลงเกวียนละ 450 บาท

ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีลักษณนาม 1. ใช้ตามหลังจำนวนนับ ผ้า 2 ผืน ผ้า 2 ม้วน ผ้า 2 พับ ผ้า 2 ตั้ง 2. ใช้ตามหลังนามเมื่อต้องการเน้นหนักและบอกให้รู้ลักษณะ

ภาษาไทยเป็นขาษาที่มีระดับของคำ 1. ราชาศัพท์ 2. คำบอกลักษณะโดยเฉพาะ 3. ภาษาธรรมดากับภาษากวี อาทิตย์ - ตะวัน ทินกร ทิพากร ภาณุมาศ สุรีย์ รวิ อาภากร สุริยา สุริโย สุริยัน

ภาษาไทยมีคำพ้องเสียงพ้องรูป กาฬ กาล การ กานต์ กานท์ คำพ้องรูป เรือนรก ตากลม เพลา ขอบอกขอบใจ

ภาษาไทยมักจะละคำบางคำ ฉันไปที่ทำงานเวลา 8.00 น.

ภาษาพูดมีคำเสริมแสดงความสุภาพ ก. แสดงความสุภาพ เถิด ซิ จ๊ะ คะ ครับ ข. แสดงความไม่สุภาพ โว้ย วะ ค. แสดงความรู้สึก นะจ๊ะ สิคะ

การลงเสียงหนักเบาทำให้หน้าที่ของคำเปลี่ยนไป ก. ถ้าคำนั้นมีความหมายชัดแจ้งต้องลงเสียงหนักทุกพยางค์ สะสม สะสาง ข. ถ้าออกเสียงหนักเบาอาจแยกให้เห็นความหมายที่แตกต่างกัน ถ้าเสียก็แก้เสียให้ดี ข้าวเย็นหมดแล้ว

ภาษาไทยมีการสร้างคำ 1. การแปรเสียง ชุ่ม-ชอุ่ม ตรอก-กรอก 1. การแปรเสียง ชุ่ม-ชอุ่ม ตรอก-กรอก 2. การเปลี่ยนเสียง ฐาน-ฐานะ สีมา-เสมา 3. การประสมคำ คนใช้ พ่อตา นักศึกษา 4. การเปลี่ยนตำแหน่งคำ ไข่ไก่- ไก่ไข่

ภาษาไทยมีการสร้างคำ 5. การแปรความ เดินตลาด เดินสะพัด 5. การแปรความ เดินตลาด เดินสะพัด 6. การเปลี่ยนความ นิยาย กระโถน แห้ว 7. การนำคำ ภาษาอื่นมาใช้ เสวย กุหลาบ 8. การคิดตั้งคำขึ้นใหม่ โทรทัศน์ พฤติกรรม กิจกรรม ประยุกต์