การจัดการความรู้ (Knowledge Management)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กิจกรรมที่ 9 ระดับสารสนเทศ จุดประสงค์ อธิบายและจำแนกระดับสารสนเทศ.
Advertisements

หน้าที่ความรับผิดชอบ
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
ระบบส่งเสริมการเกษตร
การจัดการความรู้ในสำนักงานประกันสังคม
ระยะเวลา 5 ปี (ระหว่างปี )
พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ กับ การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
การคัดเลือกฯ ตาม ว 28/2547.
การจัดทำระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน ขององค์กรและบุคคล Performance Management System( PMS ) โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสมุทรสงคราม.
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
แนะนำศูนย์ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ
การกำหนดความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ หน่วยงานภายในกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
บทบาทของผู้ตรวจราชการ ส. ป. ก. โดย นางมนต์ทิพย์ รุจิกัณ หะ หัวหน้าผู้ตรวจราชการ ส. ป. ก.
การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
โดย ดร. ประพนธ์ ผาสุขยืด สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) KICK OFF.
การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ ก. พ
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
ความเป็นมาของการจัดการ ความรู้ในกรมชลประทาน ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ หมวดที่ 3 มาตราที่ 11 ระบุว่า.
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สำนักกำกับและอนุรักษ์พลังงาน (สกอ.)
ITกับโครงการ Food safety
การบริหารองค์ความรู้ ครั้งที่ 1/2552
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
“ การตรวจราชการ บูรณาการเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพระบบบริหาร ”
จัดการความรู้เรื่องอะไร ? มีองค์กรใดบ้างที่ตั้งแต่ทำงานมา ไม่ได้ใช้ความรู้ อะไรเลย ? หรือ มีองค์กรใดบ้างที่ไม่เคยรู้ว่ามี ความรู้อะไรบ้างที่จำเป็นสำหรับการทำงานใน.
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ระบบส่งเสริมการเกษตร
กลุ่ม A2 “ข้าวเด้ง”.
กลุ่มวิจัยและพัฒนาสหกรณ์
แนวทาง KM ทร. ปี 53 ที่เชื่อมโยงและถ่ายทอดสู่ รร.นร.
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
แนวทางการจัดการความรู้ (Knowledge Management) ปีงบประมาณ 2558
ไม่พบข้อบกพร่องและพบข้อบกพร่อง
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
1. ศึกษาการนำเสนอที่หลากหลาย 2. เลือกวิธีการที่เหมาะสม
พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวก ในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ
สำนักพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ แผนงานปี 2557 สำนักพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ แผนงานปี 2557.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการความรู้ (Knowledge Management) ส่วนราชการมีหน้าที่พัฒนาความรู้ในส่วนราชการ เพื่อให้มีลักษณะเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ โดยต้องรับรู้ข้อมูลข่าวสารและสามารถประมวลผลความรู้ในด้านต่าง ๆ เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติราชการได้อย่างถูกต้อง รวดเร็วและเหมาะสมกับสถานการณ์ รวมทั้งต้องส่งเสริมและพัฒนาความรู้ความสามารถ สร้างวิสัยทัศน์และปรับเปลี่ยนทัศนคติของข้าราชการในสังกัดให้เป็นบุคคลที่มีประสิทธิภาพและมีการเรียนรู้ร่วมกัน ทั้งนี้เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติราชการให้สอดคล้องกับการบริหารราชการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามพระราชกฤษฎีกานี้ (พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีพ.ศ.๒๕๔๖มาตรา 11)

ขั้นตอนการดำเนินงานการจัดการความรู้ระดับกรมฯ ประกาศแต่งตั้งทีมงาน KM และ CKO (Chief Knowledge Officer) หน้าที่และความรับผิดชอบ 2.1 CKO (Chief Knowledge Officer) มีหน้าที่และความรับผิดชอบดังนี้ 1. ให้การสนับสนุนในด้านต่าง ๆ เช่น ทรัพยากร 2. ให้คำปรึกษาแนะนำและร่วมประชุมเพื่อการตัดสินใจแก่คณะทำงาน

2.2 ทีมงาน KM 1. หัวหน้าทีม มีหน้าที่และความรับผิดชอบดังนี้ 1.1 อำนวยการในการจัดทำแผนการจัดการความรู้ในองค์กรเพื่อนำเสนอประธาน 1.2 รายงานผลการดำเนินงานและความคืบหน้าต่อประธาน 1.3 ผลักดันติดตามความก้าวหน้าและประเมินผลเพื่อปรับปรุงแก้ไข 1.4 ประสานงานกับคณะทีมงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

2.2 ทีมงาน KM 2. เลขานุการ KM Team มีหน้าที่และความรับผิดชอบดังนี้ 2.1 นัดประชุมคณะทำงานและทำรายงานการประชุม 2.2 รวบรวมรายงานความคืบหน้าและการดำเนินงาน 2.3 ประสานงานกับคณะทีมงานและหน้าหน้า KM Team 3. KM Team มีหน้าที่และความรับผิดชอบดังนี้ 3.1 ดำเนินการตามแผนงานที่ได้รับมอบหมาย 3.2 จัดทำรายงานความคืบหน้าของงานในความรับผิดชอบ 3.3 เป็นแบบอย่างที่ดีในเรื่องการจัดการความรู้ 3.4 เป็น Master Trainer ด้านการจัดการความรู้

ขอบเขต KM (KM Focus Area) ฝึกอบรมเพื่อสร้างจิตสำนึกในการดำเนินกิจกรรม สร้างศูนย์เรียนรู้ด้านเกษตรและสหกรณ์ โครงการหุบกะพง (ศูนย์นำร่อง) แผนพัฒนากลุ่มเกษตรกรที่ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานให้ได้มาตรฐาน ออกเอกสารสิทธิ์ในการจัดที่ดินทำกิน

เป้าหมาย KM (Desired State) องค์กรสามารถทำฐานข้อมูลด้านสหกรณ์สำหรับศูนย์การเรียนรู้ด้านเกษตรและสหกรณ์ (ดำเนินการเสร็จภายในปี 2549) องค์กรสามารถจัดทำฐานความรู้เกี่ยวกับวิทยากรเครือข่ายด้านสหกรณ์ องค์กรสามารถจัดทำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

งานKMที่สำนักงานสหกรณ์จังหวัดชุมพรได้ดำเนินการแล้ว แต่งตั้งคณะทำงานกระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management) ตามคำสั่งสำนักงานสหกรณ์จังหวัดชุมพร ที่ 5/2551 ลงวันที่ 12 มีนาคม 2551 แต่งตั้งคณะทำงานสร้างชุดความรู้ ตามคำสั่งสำนักงานสหกรณ์จังหวัดชุมพร ที่ 9/2551 ลงวันที่ 22 เมษายน 2551 แบ่งกลุ่มจัดการความรู้ (KM) จำนวน 4 กลุ่ม) รวบรวมประเด็นการพัฒนาความรู้จากกลุ่มได้จำนวน 4ประเด็น จัดส่งชุดความรู้ของกลุ่มให้คณะทำงานกระบวนการจัดการความรู้ ประมวลความรู้ จัดทำ และปรับปรุงเนื้อหาในรูปแบบเอกสาร และเผยแพร่เพื่อเป็นแนวทาง หรือทางเลือกให้ทุกคนได้นำไปใช้...

งานKMที่สำนักงานสหกรณ์จังหวัดชุมพรได้ดำเนินการแล้ว 7. จัดทำมุมความรู้ส่วนกลาง (ศูนย์ข้อมูลสารสนเทศ) ของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดชุมพร มีคอมพิวเตอร์ จำนวน 1 เครื่อง ที่รวบรวมข้อมูลสารสนเทศของหน่วยงานฯ พร้อมระบบ LAN และ INTERNET จัดทำชั้นเอกสาร ตำรา หนังสือแจ้งเวียน ระเบียบข้อบังคับทางราชการ กฎหมายต่างๆ ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน จัดทำแผนผัง ขั้นตอนการลดรอบระยะเวลาของกระบวนงานแผนผังสำนักงานฯ และระบบสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ .....................