การเผยแพร่และการยอมรับนวัตกรรม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
esearch and Development
Advertisements

การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
Chapter 11 : System Implementation
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับนวัตกรรมการศึกษา
ขั้นตอนการออกแบบมัลติมีเดีย Multimedia Design Step
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
กรมสรรพสามิต หลักการเขียนรายงาน เสนอผลงานประกวดรางวัลนวัตกรรม.
การจัดการความรู้สู่การเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ และวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์
จุดมุ่งหมายการคิดเชิงกลยุทธ์
Physiology of Crop Production
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
การปลูกพืชผักสวนครัว
เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
หลักการพัฒนา หลักสูตร
เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายนวัตกรรม และกระบวนการทางนวัตกรรม
แบบทดสอบก่อนเรียน วิชา โครงงานคอมพิวเตอร์
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
นวัตกรรม Innovation สุทธินันท์ สระทองหน.
Research & Development รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
Knowledge Management (KM)
การติดตาม และประเมินโครงการ.
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
วิธีการทางวิทยาการระบาด
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ไทย ทิพย์สุวรรณกุล
การกำหนดปัญหาการวิจัย (Determining of Research Problem)
สื่อการเรียนการสอน.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จักรกฤษณ์ สำราญใจ
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
“ประเมินสมรรถนะ Online”
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
ใช้ในFlip Album รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง(Change)
ทบทวนทฤษฎีหลักสูตร ดร.อมรา เขียวรักษา.
นวัตกรรมด้านการเรียนการสอน
ขอต้อนรับทุก ท่าน WELCOME ! No 1. การบรรยายความรู้ มุมมองใหม่ กับการทำงานส่งเสริมเคหกิจ เกษตร วันพุธที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ระหว่างเวลา ๑๕. ๐๐ – ๑๖. ๐๐ น.
Quality of Research ทำวิจัย อย่างไรให้มีคุณภาพ
การประเมินค่างาน ดร. สุจิตรา ธนานันท์.
กระบวนการวิจัย Process of Research
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
ADDIE Model.
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
ความหมายของ KM การจัดการความรู้ หมายถึง กระบวนการอย่าง มีระบบเกี่ยวกับการประมวลข้อมูล สารสนเทศ ความคิด การกระทำ ตลอดจนประสบการณ์ของ บุคคลเพื่อสร้างเป็นความรู้หรือนวัตกรรม.
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การสร้างสื่อ e-Learning
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
ความหมายของนวัตกรรม “ นวัตกรรม ” หมายถึงความคิด การปฏิบัติ หรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ที่ยังไม่เคยมีใช้มา ก่อน หรือเป็นการพัฒนาดัดแปลงมาจาก ของเดิมที่มีอยู่แล้ว.
ความเชื่อมั่น ความดูดีในอีก ระดับ ความเป็นผู้นำ ความแตกต่างที่ เป็นจุดเด่น การบ่งบอกถึง คุณภาพ.
การเรียนรู้ร่วมกันผ่านทางสื่ออิเล็คทรอนิกส์ Electronic Community Learning COE นายกิตติกัญจน์ เมฆประสาน นายจักรพงศ์ เปลี่ยนคำ
วิชา เครื่องวัดไฟฟ้า รหัส
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
แนวคิดเกี่ยวกับนวัตกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเผยแพร่และการยอมรับนวัตกรรม สื่อเพื่อการนำเสนอประกอบการสอน รายวิชา 0503871 การเผยแพร่เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา โดย รองศาสตราจารย์ ดร.สุทธิพงศ์ หกสุวรรณ หัวหน้าภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

Roger, Shoemaker,1983 การยอมรับนวกรรม : บุคคลได้นำเอาความรู้ ความคิด วิธีการปฏิบัติหรือสิ่งใหม่ ๆ มาปรับปรุงงานให้มีประสิทธิภาพ กระบวนการการยอมรับหรือปฏิเสธนวกรรม 5 ระดับ 1. ขั้นรับทราบ (Awareness Stage) 2 . ขั้นสนใจ (Interest Stage) 3. ขั้นประเมิน( Evaluation Stage) 4. ขั้นทดลอง(Trial Stage) 5. ขั้นยอมรับ(Adoption or Rejection Stage)

กระบวนการการยอมรับหรือปฏิเสธนวกรรม 5 ระดับ กระบวนการการยอมรับหรือปฏิเสธนวกรรม 5 ระดับ 5. ขั้นยอมรับ(Adoption or Rejection Stage) 4. ขั้นทดลอง(Trial Stage) 3. ขั้นประเมิน( Evaluation Stage) 2 . ขั้นสนใจ (Interest Stage) 1. ขั้นรับทราบ (Awareness Stage)

ตัวแปรในการยอมรับหรือปฏิเสธ นวกรรม 1. คุณสมบัติของนวกรรม 2. คุณสมบัติของผู้รับ

ไมล์ แมทธิว บี (Miles,1964) ลักษณะนวกรรม ที่เป็นที่ยอมรับ 1. ราคาไม่แพง 2. มีความสะดวก 3. นวกรรมที่เป็นชุดครบสมบูรณ์ 4. ความง่าย 5. ความใกล้เคียงหรือแตกต่างกับสภาพเดิม

คุณสมบัติของนวกรรมที่ทำให้ยอมรับได้ง่าย Roger, Shoemaker,1983 คุณสมบัติของนวกรรมที่ทำให้ยอมรับได้ง่าย 1. ประโยชน์ดีกว่าเดิม(Relative Advantage) 2. ความเข้ากันกับของเดิม(Compatibility) 3. มีความครบสมบูรณ์ (Complexity) 4. ง่ายต่อการลอง (Trailability) 5. สามารถเก็บข้อมูลวินิจฉัย(Observability)

การแบ่งกลุ่มผู้ยอมรับนวกรรม Rogers : Shoemaker, 1971 1. Innovater : Venturesome 2. Early Adopter : Respectable 3. Early Majority : Deliberate 4. Late Majority : Skeptical 5. Laggards : Traditional

ขั้นตอนการเผยแพร่นวัตกรรมของฮอลล์ (Hall) 1. Injection (นำเสนอนวกรรม) 2. Examination (ประเมินการตอบรับ) 3. Preparation (เตรียมการทดลองใช้) 4. Sampling (ทำการทดลองกับกลุ่มตัวอย่าง) 5. Spread (ขยายผลการทดลอง) 6. Institutionalization (ยอมรับจนเป็นแนวปฏิบัติ).....เทคโนโลยี ?

ปี 2001 Hall ได้เสนอหลักการของการเปลี่ยนแปลง (Principles of Change) 12 ข้อ 1. Change is a process, not an event. 2.There are significant differences in what is entailed in development and implementation of an innovation. 3.An organization does not change until the individuals within it change. 4.Innovations come in different sizes.

5.Interventions are the actions and events that are key to the success of the change process. 6.Although both top-down and bottom-up change can work, a horizontal perspective is best. 7.Administrator leadership is essential to long-term change success. 8.Mandates can work.

9.The school is the primary unit for change. 10.Facilitating change is a team effort. 11.Appropriate interventions reduce the challenges of change. 12.The context of the school influences the process of change.

รูปแบบการยอมรับหรือปฏิเสธนวัตกรรม 1. เดิมยอมรับ ไม่ยอมรับ ไม่ยอมรับ เวลา ยอมรับ 2. เดิมไม่ยอมรับ ยอมรับ ภารกิจ : ทำให้คนไม่ยอมรับ ยอมรับ และให้คนยอมรับ ยอมรับตลอดไป

การแบ่งประเภทผู้ยอมรับ Rogers,1971 34 % 34 % 13.5% 16 % 2.5% -3SD -2SD - SD X +SD +2SD +3SD

นักเทคโนโลยีฯจะนำความคิดจากทฤษฎีนี้ไปใช้ในการออกแบบและพัฒนาการเผยแพร่เทคโนโลยีการศึกษาได้อย่างไร? การกำหนดระดับของผู้รับการเผยแพร่ การจำแนกลักษณะผู้รับการเผยแพร่ กำหนดภารกิจที่ผู้ดำเนินการต้องปฏิบัติ การประเมินการเผยแพร่ การดำเนินการ การออกแบบต้องอาศัยการบูรณาการที่สมบูรณ์แบบและสอดรับ ซึ่งคาดหวังว่าจะสามารถทำให้บรรลุผลตามที่ตั้งไว้ได้จริง