การบำบัดน้ำเสีย อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
น้ำทิ้ง คือ น้ำที่ใช้แล้วและถูกปล่อยทิ้งลงแหล่งน้ำ ซึ่งอาจได้รับการบำบัดหรือไม่ก็ได้ ทั้งนี้น้ำทิ้งต้องมีคุณภาพได้ตามมาตรฐานน้ำทิ้ง หลายหน่วยงานที่มีการประกาศใช้มาตรฐานคุณภาพน้ำทิ้งจากแหล่งต่างๆ.
Advertisements

วิธีสารแยกสารเนื้อผสม การใช้มือหยิบออก,เขี่ยออก
Somwang Witayapanyanond 26 April 2013
วัชพืชในแม่น้ำเจ้าพระยา ปัญหาตามฤดูกาลที่ต้องแก้
การจัดการของเสีย โดยวิธีทำให้เป็นก๊าซชีวภาพ
โดย วราภรณ์ ถาวรวงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ ศูนย์อนามัยที่๑.
หลักการจัดการขยะมูลฝอย ขยะติดเชื้อ และขยะอันตราย
ลักษณะของระบบนิเวศ Succession /Development ecosystem
ดิน(Soil).
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต Environment Technology and Life
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
Ecology นิเวศวิทยา Jaratpong moonjai.
หากไม่มีการช่วยกันแก้ไขปัญหาโลกร้อนในวันนี้ ในอนาคตจะส่งผลกระทบต่อประเทศไทยอย่างไร 1. ทำให้ฤดูกาลของฝนเปลี่ยนแปลงไป กระบวนการระเหยและการกลั่นตัวจะเร็วขึ้น.
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
การผลิตไฟฟ้าจากขยะ โดยการฝังกลบขยะมูลฝอย
Green Village บ้านคลองกั่ว หมู่ 7 ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ. สงขลา.
เทคโนโลยีระบบบำบัดน้ำเสียด้วยพืชกรองน้ำเสีย
1. การจัดแยกประเภทของเสียในห้องปฏิบัติการ 2
การพัฒนาระบบ การตรวจวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
ปัญหาคุณภาพน้ำและแนวทางแก้ไขในกรมชลประทาน
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโลก
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับการตัดไม้ทำลายป่า และการสูญเสียพื้นที่ป่าไม้
มลพิษทางอากาศ โชคชัย บุตรครุธ.
การจัดหาน้ำสะอาด อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
อาจารย์วีระศักดิ์ สืบเสาะ
อนามัยสิ่งแวดล้อม วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
การจัดการน้ำเสียจากฟาร์มสุกร โดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพ
องค์ประกอบต่างๆของสิ่งแวดล้อม ที่มีผลต่อสุขภาพของมนุษย์
กรณีศึกษาเทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสีย
การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช
มาตรา ๒๕ ถึง มาตรา ๒๘ รวม ๔ มาตรา ( ต่อ ) สำคัญ.
การจัดการ ความสะอาดส้วม และ การกำจัดสิ่งปฏิกูล
โดย นางสาวสุพัสตรา เหล็กจาน สำนักงานประมงจังหวัดขอนแก่น
การล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ฉบับที่ ๒ (พ. ศ
ประกาศการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยที่ 78/2554 เรื่องหลักเกณฑ์ทั่วไปในการระบายน้ำเสียเข้าสู่ระบบบำบัดน้ำเสียส่วนกลางในนิคมอุตสาหกรรม ประกาศ ณ วันที่
การจัดการน้ำ WATER MANAGEMENT.
นำเสนอโดย,,, นายสุวิทย์ เมืองวงศ์
โดยนางสาวจงจิตร์ นีรนาทเมธีกุล ผู้อำนวยการสำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 16
โรคอุจจาระร่วง.
วิชาวิทยาศาสตร์ (ว31101 )ชั้น ม. 1
ความหลากหลายทางชีวภาพ
Phosphorus and Phosphate
บทที่ 1 บทนำ(Introduction)
การจัดการส้วมและ สิ่งปฏิกูลหลังภาวะน้ำลด
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
8.5 คุณภาพน้ำ ….. แบ่งออกเป็น 3 ด้าน
(B2E Rice Bran Oil and Germ)
บทคัดย่อ ปัญหาที่จะส่งผลกระทบต่องสุขภาพของประชาชนจากแพร่กระจายของเชื้อโรคในน้ำ และมีลักษณะของคลอรีนตกค้างมากเกินไปในเส้นท่อจ่ายน้ำประปา ผู้วิจัยจึงต้องการให้น้ำมีคุณภาพที่ดีขึ้นและเพื่อรักษาแหล่งน้ำไว้
น้ำมันรำข้าวและจมูกข้าว
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
การจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
ข้อกำหนดท้องถิ่น เรื่อง การควบคุมสถานประกอบกิจการ และการประกอบกิจการ รับซื้อ สะสมยางก้อน หรือยางก้อนถ้วย.
มาตรฐานการสุขาภิบาลอาหาร สำหรับโรงอาหาร
สถานที่ปรุง ประกอบ จำหน่ายอาหาร
ฐิฎา ไกรวัฒนพงศ์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ ศูนย์อนามัยที่ 1.
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
อาหารปลอดภัยด้านประมง
โดย นายแพทย์สุวัช เซียศิริวัฒนา
การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่องกำหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้ง จากระบบบำบัดน้ำเสียรวมของชุมชน ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 2 มิถุนายน.
นางสาวธัญชนก นาคพล ภาควิชา พัฒนาการเกษตร.
ความกระด้างของน้ำ (water Hardness)
กระบวนการจัดการมูลฝอย การฝังกลบอย่างถูกหลักสุขาภิบาล
การบำบัดน้ำเสีย อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบำบัดน้ำเสีย อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ

การบำบัดน้ำเสีย(Wastewater management) พ.ร.บ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม แห่งชาติ(2535) “ของเสียที่อยู่ในสภาพที่เป็นของเหลวรวมทั้งมลสารที่ปะปนหรือปนเปื้อนอยู่ในของเหลวนั้น”

พ.ร.บ.การสาธารณสุข 2535 “สิ่งปฏิกูล หมายถึง อุจจาระหรือปัสสาวะและหมายรวมถึงสิ่งอื่นใดซึ่งเป็นสิ่งโสโครกหรือมีกลิ่นเหม็น”

สรุป น้ำเสีย หมายถึง น้ำที่ผ่านการใช้มาแล้วและมีคุณสมบัติสมบัติเปลี่ยนไปจากเดิมโดยมีมลสารหรือสิ่งปฏิกูลที่ละลายน้ำและไม่ละลายน้ำเจือปนอยู่

ประเภทของน้ำเสีย แบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ 1.น้ำเสียจากชุมชน(Domestic Sewage) 2. น้ำเสียจากอุตสาหกรรม(Industrial Wastewater) 3. น้ำเสียจากการเกษตร(Agricultural Wastewater) 4. น้ำเสียจากน้ำฝน (Storm Sewage)

น้ำเสียกับปัญหาด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 1.เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลงและสัตว์นำโรค 2.เป็นแหล่งเพาะจุลินทรีย์ทั้งที่ทำให้เกิดโรคและ ไม่เกิดโรคในมนุษย์ 3.ก่อให้เกิดเหตุรำคาญเนื่องจากกลิ่นเหม็นและทำให้ ชุมชนสกปรก 4.เป็นสาเหตุทำให้เกิดมลพิษทางน้ำ ดิน อากาศ

คุณลักษณะของน้ำเสีย (Characteristics of Sewage) 1.คุณลักษณะทางกายภาพ 2.คุณลักษณะทางเคมี 3.คุณลักษณะทางชีวภาพ

คุณลักษณะทางกายภาพ 1.สารแขวนลอย(Suspended solid) 2.อุณหภูมิ(Temperature) 3.สี (Color) 4.กลิ่น (Odor)

คุณลักษณะทางเคมี 1.ความเป็นกรด-ด่าง (pH) 2.สารอินทรีย์ (Organic matters) 3.สารอนินทรีย์ (Inorganic matters) 4.สารเคมีต่างๆ (Chemical substance)

คุณลักษณะทางเคมี 5.DO 6.BOD 7.COD

1.โปรโตซัว 2.แบคทีเรีย 3.พืชชั้นต่ำ 4.สาหร่าย 5.สัตว์น้ำขนาดเล็ก คุณลักษณะทางชีวภาพ 1.โปรโตซัว 2.แบคทีเรีย 3.พืชชั้นต่ำ 4.สาหร่าย 5.สัตว์น้ำขนาดเล็ก

คุณลักษณะทางชีวภาพ

การบำบัดน้ำเสีย “ กระบวนการที่ทำให้ของแข็งที่เจือปนอยู่ในน้ำเสียถูกขจัดหรือเปลี่ยนแปลงสภาพจากสารอินทรีย์ที่ทำให้เกิดการเน่าเสียได้ง่ายกลายเป็นสารอินทรีย์ค่อนข้างคงสภาพทำให้ความสกปรกในน้ำลดลง”

การบำบัดน้ำเสีย (Wastewater treatment) แบ่งออกเป็น 3 กระบวนการ 1.การบำบัดน้ำเสียโดยวิธีการทางกายภาพ 2.การบำบัดน้ำเสียโดยวิธีการทางเคมี 3.การบำบัดน้ำเสียโดยวิธีการทางชีววิทยา

การบำบัดน้ำเสีย (Wastewater treatment) หรือ แบบผสมผสาน กระบวนการทางฟิสิคัลเคมี (Physical Chemical Process)

ขั้นตอนการบำบัดน้ำเสีย 1.การบำบัดขั้นต้น 2.การบำบัดขั้นปฐมภูมิ 3.การบำบัดขั้นทุติยภูมิ 4.การบำบัดขั้นตติยภูมิ 5.การบำบัดและการกำจัดตะกอน 6.การกำจัดส่วนที่เป็นน้ำทิ้ง

1.ตะแกรง 2.เครื่องบด สับ ตัด 3.รางตกตะกอนหนัก 4.การแยกไขมันออกจากน้ำ การบำบัดขั้นต้น 1.ตะแกรง 2.เครื่องบด สับ ตัด 3.รางตกตะกอนหนัก 4.การแยกไขมันออกจากน้ำ

การบำบัดขั้นปฐมภูมิ ทำการแยกของแข็งทั้งอินทรีย์และอนินทรีย์ที่ตกตะกอนได้ ออกจากน้ำเสีย เช่น การตกตะกอน

การบำบัดขั้นทุติยภูมิ 1.ระบบลานกรอง(Tricking filter) 2.ระบบเลี้ยงตะกอน(Activated sludge) 3.ระบบสระผันสภาพ(Oxidation pond) 4.ระบบบ่อเติมอากาศ(Aerated lagoon)

การบำบัดขั้นทุติยภูมิ 5.ระบบคลองวนเวียน(Oxidation ditch) 6.ระบบอาร์บีซี (RBC : Rotating Biological Contactor) 7.ระบบกรองไร้อากาศ(Anaerobic filter)

การบำบัดขั้นทุติยภูมิ 1. ระบบลานกรอง(Tricking filter)

การบำบัดขั้นทุติยภูมิ 2. ระบบเลี้ยงตะกอน(Activated sludge)

การบำบัดขั้นทุติยภูมิ 3. ระบบสระผันสภาพ(Oxidation pond)

การบำบัดขั้นทุติยภูมิ 4. ระบบบ่อเติมอากาศ(Aerated lagoon)

การบำบัดขั้นทุติยภูมิ 5. ระบบคลองวนเวียน(Oxidation ditch)

การบำบัดขั้นทุติยภูมิ 6. ระบบอาร์บีซี (RBC : Rotating Biological Contactor)

การบำบัดขั้นทุติยภูมิ 7.ระบบกรองไร้อากาศ(Anaerobic filter)

การบำบัดขั้นตติยภูมิ การปรับปรุงคุณภาพน้ำทิ้ง(Effluent) ที่ผ่านขั้นตอนต่างๆแล้วมาบำบัดให้มีคุณภาพได้ตามมาตรฐานที่กำหนด 1.การทำให้ตกตะกอน(Sedimentation) 2.การทำลายเชื้อโรคในน้ำ (Disinfection)

การกำจัดและบำบัดกากตะกอน การบำบัดกากตะกอน 1.การทำให้เข้มข้น 2.การหมักโดยใช้หรือไม่ใช้ความร้อน 3.การทำให้แห้งบนลานทราย 4.การใส่สารเคมี

การกำจัดและบำบัดกากตะกอน การบำบัดกากตะกอน 5.การล้างตะกอน 6.การกรองสูญญากาศ 7.การทำให้แห้งโดยใช้ความร้อน 8.การเผา

การกำจัดกากตะกอน 1.การทิ้งในน้ำ(Dumping into water) 2.การถมหรือฝังบนดิน(Dumping on land)

การกำจัดส่วนที่เป็นน้ำทิ้ง (Effluent Disposal) 1.การกำจัดบนพื้นดิน(Land treatment method) เช่น การระบายน้ำ การซึมผ่านชั้นดิน ปล่อยให้ไหลผ่านตามผิวดิน 2. การกำจัดโดยปล่อยลงน้ำ (Disposal into water) 3. การกำจัดโดยปล่อยให้ซึมใต้ดิน(Disposal into the ground)