วิทยาการระบาดอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม วัตถุประสงค์ทั่วไป เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจในการศึกษาวิทยาการระบาดที่เกี่ยวข้องกับอาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ วัตถุประสงค์เฉพาะ 1. สามารถอธิบายปัจจัยทางอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมที่มีอิทธิพลหรือผล กระทบต่อสุขภาพ 2. สามารถอธิบายลักษณะเฉพาะบุคคลที่เป็นอิทธิพลหรือปัจจัยทางอาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม 3. สามารถอธิบายปัจจัยการได้รับ ปริมาณ การติดตามตรวจสอบ และวิธีการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 4. สามารถอธิบายความสัมพันธ์ปริมาณที่ได้รับและผลกระทบ 5. สามารถอธิบายความสัมพันธ์ปริมาณที่ได้รับและผลการตอบสนอง 6. สามารถประเมินความเสี่ยงและการจัดการความเสี่ยงอันตราย
สาระสำคัญและลักษณะของการศึกษาวิทยาระบาด เป็นองค์ความรู้ที่ใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ 2. เป็นองค์ความรู้ที่ศึกษาถึงการเกิดโรค และวิธีการสืบสวน เพื่อสาเหตุของโรค (เป็นศาสตร์แห่งการโรค) 3. เป็นองค์ความรู้ที่ใช้ร่วมกับศาสตร์อื่น ๆ ที่มีวัตถุประสงค์ร่วมกัน ในการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค
อาชีวอนามัย : เกี่ยวข้องกับการเจ็บป่วยโรครวมทั้ง วิทยาระบาด : เป็นศาสตร์ที่ศึกษาถึงการกระจายของ โรคในประชากรและปัจจัยที่มีอิทธิพล อาชีวอนามัย : เกี่ยวข้องกับการเจ็บป่วยโรครวมทั้ง อุบัติเหตุที่มีอิทธิพลต่อสุขภาพของการ ประกอบอาชีพ สิ่งแวดล้อม : สิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัวเราไม่ว่าจะเป็นสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต หรือเป็นสิ่งที่ มองเห็นด้วยตาเปล่าและไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่า หรือเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นเอง โดยธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น วิทยาการระบาดอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม : การศึกษาถึงปัจจัยทางอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมที่มีอิทธิพลที่ก่อให้เกิด การเกิด การกระจายของโรค
บทบาทของวิทยาการระบาดต่อวิทยาศาสตร์ การแพทย์และการสาธารณสุข 1. การเรียนรู้เกี่ยวกับ Natural History ของโรค 2. การสอบสวนวิธีการติดต่อ (Mode of Transmission) ในโรคใหม่ ๆ 3. การค้นคว้าสาเหตุหรือปัจจัยเสี่ยงของโรค 4. การป้องกันโรค 5. การตัดสินใจในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพอนามัย 6. การศึกษาขอบเขตของปัญหาในประชากร 7. การวางแผนงานและนโยบายด้านสาธารณสุข 8. การตัดสินคดีความในศาล
ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อการเกิดการกระจายโรค Accident Factors ปัจจัยทางอุบัติเหตุ เช่น สภาพอันตราย ความเร็ว อิทธิพลจากแอลกอฮอล์ สารเสพติด Psychological Factors ปัจจัยทางจิต เช่นความเครียด ความกดดันภาระงาน ความสัมพันธ์ Biological Factors ปัจจัยทางชีวภาพ เช่นแบคทีเรีย เชื้อรา ไวรัส พยาธิ Socio-Economic Factors ปัจจัยทางสังคมเศรษฐกิจ เช่น งบประมาณ การเมือง วัฒนธรรม ประเพณี Chemical Factors ปัจจัยทางเคมี เช่น โลหะหนัก สารปราบศัตรูพืช สารมลพิษ ต่างๆ Physical Factors ปัจจัยทางกายภาพ เช่น เสียง แสง ความร้อน รังสี กายศาสตร์
Genetic Factors ปัจจัยทางพันธุกรรม Personality ลักษณะนิสัย ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมที่มีอิทธิพลจากลักษณะเฉพาะบุคคล Genetic Factors ปัจจัยทางพันธุกรรม Nutrition โภชนาการ Disease โรคประจำตัว Sex เพศ Age อายุ Physical Condition สภาพร่างกาย Personality ลักษณะนิสัย
การได้รับปัจจัยและปริมาณที่ได้รับ Exposure and Dose ความเข้มข้นของสารมลพิษ 250 500 750 5 10 15 ...0 ...1.0 ...2.0 ...3.0 คนตาย (ต่อวัน) SO ppm 2 Smoke mg/m 3 ...0.25 ...0.5 ...0.75 วัน deaths smoke SO
การได้รับปัจจัยและปริมาณที่ได้รับ Exposure and Dose แนวคิด (Concept) - ปริมาณสิ่งอันตรายในสิ่งแวดล้อมสัมพันธ์กับการตอบสนอง (dose-response relationship) - ต้องพิจารณาทั้งด้านระดับปริมาณและระยะเวลาสัมผัส (level and duration) - ความสัมพันธ์ปัจจัยสิ่งแวดล้อมและภาวะสุขภาพของประชาชน ประเภทของสัมผัสหรือได้รับ (Type of exposure) - ปริมาณภายนอกร่างกายที่ได้รับ (External (Total) exposure) เช่น ฝุ่น สารมลพิษอากาศ เสียง - ปริมาณที่ได้รับภายในร่างกาย (Internal (absorbed) exposure) เช่น ระดับตะกั่วในเลือด
ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณที่ได้รับและการตอบสนองหรือผลกระทบ Dose-response relationship จำนวนร้อยละของประชากรที่ประสิทธิภาพการได้ยินลดลง ความดังเฉลี่ยในระยะ 8 ชั่วโมงทำงาน (เดซิเบล) ระยะเวลาสัมผัส (ปี) 5 10 15 < 80 85 90 95 100 105 110 115 0 1 4 7 12 18 26 36 0 3 10 17 29 42 55 71 0 10 21 29 41 54 62 64
การติดตามผลตรวจสอบทางชีวภาพ (Biological monitoring) - เลือดและปัสสาวะ เช่น ระดับตะกั่ว, แคดเมี่ยม - เส้นผม เช่น methyl mercury - เล็บ เช่น สารหนู - อุจจาระ เช่น สารมลพิษจากอาหาร - น้ำนม เช่น สารปราบศัตรูพืชชนิดออร์แกนโนคลอรีน สารไดออกซินสารโพลิคลอริเนตเตต ไบพีนิล
ปริมาณที่ได้รับและผลกระทบ Dose-effect relationship 10 20 30 40 50 60 70 80 Carboxyhaemoglobin in blood (%) Degree of Effect slight headache Headache,dizziness Nausea ,blackouts Unconsclousness Death