4/4/2017 การสื่อสารข้อมูล เทคโนโลยีเพื่อการส่งสัญญานข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง โดยมีองค์ประกอบพื้นฐาน 4 อย่าง คอมพิวเตอร์ หรือ หน่วยรับข้อมูล หรือ แสดงผลข้อมูล ช่องทางการสื่อสาร (Communication Channel) เพื่อส่งข้อมูล เครื่องมือการสื่อสารที่ใช้ช่วยส่ง หรือ รับข้อมูล โปรแกรมการสื่อสาร และ ควบคุมการทำงานของระบบ (Communication Software)
ระบบการสื่อสารข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ ณ จุดส่ง ช่องทางการสื่อสาร คอมพิวเตอร์ ณ จุดรับ อุปกรณ์การสื่อสาร เช่น MODEM , Multiplexer อุปกรณ์การสื่อสาร เช่น MODEM, Multiplexer
ช่องทางการสื่อสาร (Communication Channel หรือ Communication Link ) 4/4/2017 ช่องทางการสื่อสาร (Communication Channel หรือ Communication Link ) อุปกรณ์ที่ใช้เป็นตัวกลาง (Transmission Media) ชนิดของสัญญาณ (Types of Signals) อัตราความเร็วของการส่ง (Transmission Rate) Transmission Mode ทิศทางการส่งสัญญาณ (Direction of Transmission)
อุปกรณ์ที่ใช้เป็นตัวกลาง (Transmission Media) 4/4/2017 อุปกรณ์ที่ใช้เป็นตัวกลาง (Transmission Media) Twisted-Pair Wire สายโคแอกเซียล (Coaxial Cables) ใยแก้วนำแสง (Optical Fibers) ไมโครเวฟ (Microwave) ดาวเทียม (Satellite)
ตัวอย่างอุปกรณ์ที่ใช้เป็นตัวกลาง Twisted-Pair Wire สายโคแอกเซียล ใยแก้วนำแสง
ตัวอย่างการส่งสัญญาผ่านดาวเทียม
ชนิดของสัญญาณ (Types of Signals) 4/4/2017 ชนิดของสัญญาณ (Types of Signals) สัญญาณ อนาลอก (Analog Signal) สัญญาณ ดิจิตอล (Digital Signal)
อัตราความเร็วของการส่ง (Transmission Rate) 4/4/2017 อัตราความเร็วของการส่ง (Transmission Rate) Bandwidth หมายถึงช่วงห่างระหว่างความถี่สูงสุดและความถี่ต่ำสุดที่ช่องสัญญานสามารถนำพาได้ อัตราความเร็วในการส่งผ่านข้อมูล (Data Transfer Rate) อัตราความเร็วในการส่งสัญญาณ (Data Signaling Rate)
อัตราความเร็วในการส่งผ่านข้อมูล (Data Transfer Rate) อัตราส่วนที่แสดงถึงปริมาณข้อมูลที่ส่งผ่านไปได้ในหนึ่งหน่วยเวลา มีหน่วยเป็น Bits Per Second (BPS) ตัวอย่างเช่น อัตราความเร็วในการส่งข้อมูลเป็น 1,200 บิตต่อวินาที หมายความว่า ในช่วงเวลา 1 วินาที มีข้อมูลส่งผ่านออกไปทั้งสิ้น 1,200 บิต
อัตราความเร็วในการส่งสัญญาณ (Data Signaling Rate) อัตราส่วนที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของ สัญญาณที่เกิดขึ้นในหนึ่งหน่วยเวลา หน่วยของเวลาที่ใช้ คือ วินาที มีหน่วยเป็น Baud Rate อัตราการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณใน 1 วินาที คือ อัตราความเร็วของการส่งสัญญาณนั่นเอง Baud Rate เป็น 600 หมายความว่า ในช่วงเวลา 1 วินาที มีการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณที่ส่งไปตาม สายเกิดขึ้น 600 ครั้ง
อัตราความเร็วในการส่งสัญญาณ (Data Signaling Rate) Baud Rate เป็น 600 อัตราส่วนในการส่งข้อมูลจะเป็น 600 BPS ถ้าการเปลี่ยนแปลงสัญญาณ 1 ครั้งแทนข้อมูล 1 บิต การเปลี่ยนแปลงสัญญาณ 1 ครั้งอาจจะแทนข้อมูลมากกว่า 1 บิตก็ได้ เช่น กำหนดให้การเปลี่ยนแปลงสัญญาณ 1 ครั้งแทนข้อมูล 2 บิท ถ้า Baud Rate เป็น 1,200 แสดงว่าระบบนี้มีอัตราส่งข้อมูลเป็น 2,400 BPS
Transmission Mode การส่งข้อมูลแบบขนาน (Parallel Transmission) 4/4/2017 การส่งข้อมูลแบบขนาน (Parallel Transmission) การส่งข้อมูลแบบอนุกรม (Serial Transmission) การซิงโครนัส (Synchronous) อะซิงโครนัส (Asynchronous) Parallel Transmission Serial Transmission
การซิงโครนัส (Synchronous)
อะซิงโครนัส (Asynchronous)
ทิศทางการส่งสัญญาณ (Direction of Transmission) 4/4/2017 ทิศทางการส่งสัญญาณ (Direction of Transmission) การส่งสัญญาณทางเดียว (Simplex หรือ SPX) การส่งสัญญาณกึ่งทางคู่ (Half-Duplex หรือ FDX) การส่งสัญญาณทางคู่สมบูรณ์ (Full-Duplex หรือ FDX)
การส่งสัญญาณทางเดียว (Simplex หรือ SPX) อุปกรณ์บันทึกข้อมูล คอมพิวเตอร์
การส่งสัญญาณกึ่งทางคู่ (Half-Duplex หรือ FDX) คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์
การส่งสัญญาณทางคู่สมบูรณ์ (Full-Duplex หรือ FDX) คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์
เครื่องอำนวยความสะดวกเกี่ยวกับการสื่อสาร 4/4/2017 เครื่องอำนวยความสะดวกเกี่ยวกับการสื่อสาร MODEM (MOdulation and DEMdulation) Multiplexer
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Computer Network 4/4/2017 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Computer Network คอมพิวเตอร์ตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไปเชื่อมโยงกัน และมีการแลกเปลี่ยนข่าวสารหรือข้อมูลซึ่งกันและกัน โดยเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งสองต้องเป็นเครื่องจักร อัตโนมัตินั่นคือเครื่องหนึ่งที่ต่อถึงกันจะไม่สามารถควบคุม หรือสั่งงานอีกเครื่องได้ กฎ ระเบียบ หรือข้อตกลง เพื่อควบคุมให้การแลกเปลี่ยนข่าวสารหรือการรับส่งข้อมูลดำเนินไปได้ เรียกว่า โปรโตคอล (Protocals)
LAN (Local Area Network) 4/4/2017 LAN (Local Area Network) กลุ่มของ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่มี ฮาร์ดแวร์ โปรแกรม และ ช่องทางการสื่อสาร ที่เชื่อมกันตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไปภายในพื้นที่จำกัด ซึ่งอาจจะเป็นตึกหลาย ๆ ชั้น หรือ กลุ่มของตึกที่อยู่ใกล้ ๆ กัน เพื่อวัตถุประสงค์ในการแลกเปลี่ยนข้อมูล โปรแกรม และ อุปกรณ์ต่าง ๆเช่น Hard disk เครื่องพิมพ์ เป็นต้น
รูปแสดงการต่อ LAN 4/4/2017
แบ่งการออกแบบเป็น 2 วิธี 4/4/2017 การเชื่อมต่อแบบ LAN แบ่งการออกแบบเป็น 2 วิธี Server Based : แต่ละ Workstation พึ่งพา Central Computer ที่จะให้บริการ File, Printing Peer to Peer : แต่ละเครื่องมีความสามารถเท่าเทียมกันใน การแลกเปลี่ยนข้อมูล หรือ ใช้อุปกรณ์พ่วง
รูปแบบการเชื่อมต่อ Network แบบ Server Based 4/4/2017 รูปแบบการเชื่อมต่อ Network แบบ Server Based LAN Workstation Mainframe Gateway Hard disk Printer File Server Print Server Communication Server
รูปแบบการเชื่อมต่อ Network แบบ Peer to Peer 4/4/2017 รูปแบบการเชื่อมต่อ Network แบบ Peer to Peer Dot matrix Laser Laser LAN Workstation
4/4/2017 LAN Topology Star Network
4/4/2017 LAN Topology BUS
4/4/2017 LAN Topology RING
ข้อดีของ PC Local Area Network 4/4/2017 ข้อดีของ PC Local Area Network การใช้อุปกรณ์ต่างๆ ร่วมกัน (Device Sharing) การใช้ ไฟล์ หรือ โปรแกรม ร่วมกัน (Shared File Access) การสื่อสารภายในองค์กร (Communication Within Organization) การจัดการบริหารที่ง่ายขึ้น (Management) Share File Access : user will be able to work on the same database file at the same time Device Sharing : Data sent to network printers will stack up in a buffer called a print queue (Spooling) if a printer is busy or off-line. This will decrease cost per user. Modem harddisk or any other hardware device can be shared this way Electronic Mail : The capability to send message to other users is something the people use Groupware : New software products are now emerging that can streamline the work process for groups of people. Resource Centralization : Management : User can keep private program in local H/D. Admnin can handle maintenace, upgrade and security
ข้อเสียของระบบเครือข่าย 4/4/2017 ข้อเสียของระบบเครือข่าย ไม่สามารถแทนการทำงานบนเครื่อง ขนาดใหญ่ได้แท้จริง การดูแลระบบต้องการคนที่มีความรู้ เพระเป็นเรื่องที่ยุ่งยากสลับซับซ้อน ความปลอดภัยของข้อมูลน้อยกว่าแบบ Stand Alone
4/4/2017 What is a Server A Server คือ Computer ที่ให้บริการ Computer ตัวอื่นบนเครือข่าย ชนิดของ Server ส่วนใหญ่ใน เครือข่าย คือ File Server และ Print Server
ชนิดของ Server File Server Print Server Communication Server 4/4/2017 ชนิดของ Server File Server Print Server Communication Server Database Servers File server : Typcal is a fast machines, they act as remote hard disk for the network workstation. It has to be fast to keep up demand for multiple user, track security to make sure that data sent to the right station, make sure that 2 or more station don’t break file. For peer to peer, file server may run some software and run background to service other users. This kind of file server is not reliabkle. Print Server : Most of major server-based let you use the file server as a print server as well. Usually, print server can take in data fromclient faster than the printer they’re connected to can print. They have extra RAM memory to store the print jobs until the printer catchs up. This is called print spooling. Some printer can be print server. Communication Server : let clients share modems, other communications equipment(like fax board) or gateway to other system.
Communication Server Modem Sharing Fax Gateways Mainframe Gateways 4/4/2017 Communication Server Modem Sharing Fax Gateways Mainframe Gateways
4/4/2017 ข้อดี Server Based เร็ว การทำงานบน Server จะทำได้เร็วกว่า การทำงานแบบ Peer-to-Peer มีมาตรฐานอุตสาหกรรม สนับสนุนการทำงานกับเครือข่ายใหญ่ ๆ การรักษาความปลอดภัยของข้อมูลทำได้ดีกว่า
ข้อเสีย Server Based ราคาค่อนข้างแพง การติดตั้งระบบทำได้ยาก 4/4/2017 ข้อเสีย Server Based ราคาค่อนข้างแพง การติดตั้งระบบทำได้ยาก จำเป็นต้องคนดูแลระบบ
ข้อดี Peer to Peer ราคาไม่แพง การติดตั้งทำได้ง่าย การใช้งานทำได้ง่าย 4/4/2017 ข้อดี Peer to Peer ราคาไม่แพง การติดตั้งทำได้ง่าย การใช้งานทำได้ง่าย ไม่จำเป็นจะต้องมี Stand alone server
ข้อเสีย Peer to Peer ช้า มีข้อจำกัดในการขยายเครือข่าย 4/4/2017 ข้อเสีย Peer to Peer ช้า มีข้อจำกัดในการขยายเครือข่าย ความปลอดภัยในข้อมูลต่ำ ยากในการจัดการ
Network Operating System 4/4/2017 Network Operating System OS/2 UNIX Window NT NetWare
หน้าที่พื้นฐานของ Network Operating System 4/4/2017 หน้าที่พื้นฐานของ Network Operating System File Server Print Service Back up Security
WAN (Wide Area Network) MAN (Metropolitan area Network) 4/4/2017 Extending Network WAN (Wide Area Network) MAN (Metropolitan area Network) Inter-networking Big LANs
4/4/2017 Big Network Hardware Repeaters Bridges Routers Gateways
4/4/2017 Bridges LAN LAN Bridge Bridge
4/4/2017 Routers Router Router Router
4/4/2017 Gateway GATEWAY GATEWAY GATEWAY GATEWAY