จริยธรรม สำหรับบุคลากรด้านไอที

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
Advertisements

การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
นางสาวมะลิวรรณ ระหูภา
กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน (ดอน)
หน่วยส่งเสริมและพัฒนาทางวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
แม่ครูชมัยพร โครตโยธา
เรื่อง องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ จำทำโดย นาย เดชฤทธิ์ ร้อยพรหมมา
คุณธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การกระทำความผิดเกี่ยวกับพรบ.คอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
บทที่ 9 นวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศในอนาคต
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
ซอฟต์แวร์.
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
๒ การจัดระเบียบทางสังคม (Social Organization)
(1) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Use Case Diagram.
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System :MIS)
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สำหรับสถาบันอุดมศึกษา
SCC : Suthida Chaichomchuen
ประเด็นด้านจริยธรรมในการใช้ข้อมูล ข่าวสาร
หน้าที่ของสมาชิกสหกรณ์
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
Chapter 10 จรรยาบรรณของนักธุรกิจ
การนำนโยบายจรรยาบรรณ ลงสู่การปฏิบัติในระดับคณะ/หน่วยงาน
บุคลากร (Peopleware) บุคลากรทางด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ค่อนข้างมีความจำเป็นที่ต้องมีความรู้หลากหลาย และมีความสนใจเทคโนโลยีสารสนเทศใหม่ๆ เสมอ และคอยติดตามข่าวสารความเป็นไปของเทคโนโลยีทางด้านนี้
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
มาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม ของ ผู้ตรวจราชการและหน่วยงานที่รับการตรวจราชการ สุรศักดิ์ แสงอร่าม รองเลขาธิการ ส.ป.ก. 21 ต.ค
กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย
IS กับ IT IS ต้องอาศัย IT
ความต้องการเชิงคุณภาพ (Qualitative Requirements)
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
คุณธรรมและจริยธรรม สำหรับ วิทยาการคอมพิวเตอร์
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ E-Commerce
: information security (ความมั่นคงปลอดภัยของสารสนเทศ)
โรงเรียนเทศบาล ๕ (วัดหาดใหญ่)
หน่วยที่ 7 จริยธรรมและความปลอดภัย
บทบาทของ สารสนเทศ จัดทำโดย น. ส อมรรัตน์ เม่งบุตร 002.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
การจัดการฐานข้อมูล.
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ และบทบาทของนักวิเคราะห์ระบบ
เรื่อง คุณธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ วิชา คอมพิวเตอร์ จัดทำโดย
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 33101
จริยธรรม และ กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อจัดหา
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
จรรยาบรรณ นางสาวสมลักษณ์ ลวดเงิน พนักงานพัฒนากองทุนหมู่บ้าน
กระบวนการทำงานและบุคลากร
จริยธรรมสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจ
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
ปฐมนิเทศนักเรียน ครูระดมพล ช่วยชูชาติ.
ADDIE Model.
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
ระบบฐานข้อมูล.
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
1. ไม่ควรให้ข้อมูลที่เป็นเท็จ 2. ไม่บิดเบือนความถูกต้องของข้อมูล ให้ผู้รับคนต่อไป ได้ข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง 3. ไม่ควรเข้าถึงข้อมูลของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต.
เนื่องจากในปัจจุบันเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ มีการ เชื่อมโยงกันทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ย่อมมีข้อมูลสารสนเทศที่ส่งผ่าน จากผู้ส่ง ไปยัง ผู้รับ และหากเครือข่ายอินเทอร์เน็ตนั้น.
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
ปฏิญญาสากลว่าด้วยเรื่อง สิทธิมนุษยชน
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
ประเด็น ( ปัญหา ) ที่เกี่ยวข้องกับ ความผิด (Liability) ประเด็น ( ปัญหา ) ที่เกี่ยวกับ คุณภาพของระบบ : คุณภาพข้อมูลและ ความผิดพลาดจากระบบ (Data quality.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จริยธรรม สำหรับบุคลากรด้านไอที ว่าที่ ร.ต. พรพรหม อธีตนันท์ นักวิชาการ สถาบันพัฒนาบุคลากรและวิชาการด้านไอซีที ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ

หัวข้อการนำเสนอ วัตถุประสงค์ กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศและแนวทาง ปฏิบัติ จริยธรรมสำหรับบุคลากรด้านไอที วัตถุประสงค์ เข้าใจภาพรวมของการพัฒนากฎหมายไอทีของไทย ตลอดจนแนวทางปฏิบัติที่สอดรับกับกฎหมาย เพื่อศึกษาคุณลักษณะของบุคลากรด้านไอที ที่มี คุณธรรมและจริยธรรม รวมทั้งการมีจรรยาบรรณ ในการบริหารงาน

บุคลากรในแวดวงคอมพิวเตอร์/ไอที บุคลากรคอมพิวเตอร์ หมายถึง ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการใช้งาน การดูแลและควบคุมระบบคอมพิวเตอร์ อาจเป็น....บุคคลเดียวหรือกลุ่มบุคคล.....ตามการจัดแบ่งโครงสร้างขององค์กร แบ่งได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ คือ ผู้ใช้งาน ผู้ดูแลระบบ ผู้ปฏิบัติงาน

บุคลากรในแวดวงคอมพิวเตอร์ /ไอที ผู้ใช้งาน จะเป็นบุคคลที่เข้าถึงสารสนเทศที่ได้จากระบบ คอมพิวเตอร์ไปใช้ เช่น รายงานลูกค้าค้างชำระ จะเป็นสารสนเทศที่ส่งให้พนักงานฝ่ายสินเชื่อเพื่อนำไปใช้ติดตาม เก็บเงินจากลูกค้า รายงานสรุปผลยอดการขาย จะถูกส่งให้ผู้บริหารระดับสูง เพื่อ ใช้ในการตัดสินใจในการลงทุน ผลผลิตภัณฑ์

บุคลากรในแวดวงคอมพิวเตอร์ /ไอที ผู้ดูแลระบบ เป็นผู้ควบคุมและพัฒนาโปรแกรม (System Programmer and Application Programmer) System Programmer เป็นผู้นำหน้าที่ ควบคุมระบบ ทางด้าน Hardware เช่น ควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์ให้ ปฏิบัติงานได้อย่างราบรื่น คอยแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้นใน ระบบ ขณะปฏิบัติงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ Application Programmer สำหรับผู้พัฒนาโปรแกรม จะเป็นบุคคลที่ทำหน้าที่พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ เพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์พัฒนาประมวลผล และสร้าง สารสนเทศในระบบงานใด ๆ

บุคลากรในแวดวงคอมพิวเตอร์ /ไอที ผู้ปฏิบัติงาน เป็นผู้ที่ทำหน้าที่ นำข้อมูลเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ มีหน้าที่ เรียกใช้งานโปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ เพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำการประมวลผล สร้างสารสนเทศออกมา คอยรับผลลัพธ์จากระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อนำส่งให้แก่ ผู้ใช้งานต่อไป

บุคลากรในแวดวงคอมพิวเตอร์ /ไอที มี 5 ประเภท ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ (User) ผู้เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Programmer) ผู้ดูแลและซ่อมบำรุงเครื่องคอมพิวเตอร์ (Supporter หรือ Technician) ผู้บริหารระบบคอมพิวเตอร์ (System Manager or Administrator) ผู้วิเคราะห์แบะออกแบบระบบคอมพิวเตอร์ (System Analyst)

อาชีพที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ /ไอที อุตสาหกรรมการ....ผลิตอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ อุตสาหกรรมการ.....ผลิตซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ อาชีพ...นักสารสนเทศในหน่วยงานรัฐบาลและเอกชน อาชีพเกี่ยวกับ...การสอนและฝึกอบรมบุคลากรทาง คอมพิวเตอร์ อาชีพอื่นในอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์

Operation System Development Support CIO CEO CEO Information Service Unit CIO CEO CEO

Information Service Unit Operation Computer Facility Operator Data Entry LAN Operators Web Operators System Development System Analysis and Design Programming Web Development Support Hardware & Software Acquisition Data Administration User Training Web Administration Information Center Information Service Unit 12 ตำแหน่ง

จริยธรรม จริย หมายถึง ความประพฤติหรือกิริยาที่ควรประพฤติ คำว่า “จริยธรรม” แยกออกเป็น จริย + ธรรม จริย หมายถึง ความประพฤติหรือกิริยาที่ควรประพฤติ ธรรม มีความหมายหลายประการ เช่น คุณความดี, หลักคำสอนของศาสนา , หลักปฏิบัติ เมื่อนำคำทั้งสองมารวมกันเป็น "จริยธรรม" จึงมีความหมายตามตัวอักษรว่า “หลักแห่งความประพฤติ” หรือ “แนวทางของการประพฤติ” พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๓๕ ให้คำนิยามว่า จริยธรรม... คือ ธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติ, ศีลธรรม, กฎศีลธรรม จริยธรรม.... เป็นศาสตร์แขนงหนึ่งของปรัชญาที่เกี่ยวข้องกับหลักใน การประพฤติปฏิบัติตนของมนุษย์ ที่มุ่งเน้นแต่การทำดี คิดดี

ความหมายของจริยธรรม จริยธรรม หมายถึง ระบบการทำความดี ละเว้นความชั่ว จริยธรรม หมายถึง ระบบการทำความดี ละเว้นความชั่ว (ศ.ดร.ดวงเดือน พันธุมนาวิน, 2538) จริยธรรม หมายถึง ธรรมชาติหรือหลักธรรมที่ บุคคลควรประพฤติ (ผศ.บุญมี แท่นแก้ว : 2534) 17

ความหมายของจริยธรรม จริยธรรม หมายถึง ความประพฤติ การกระทำ จริยธรรม หมายถึง ความประพฤติ การกระทำ และความคิดที่ถูกต้อง เหมาะสม การทำหน้าที่ ของตนอย่างสมบูรณ์ เว้นในสิ่งที่ควรเว้น กระทำในสิ่งที่ควรกระทำด้วยความฉลาด รอบคอบ รู้เหตุผล ถูกต้องตามกาลเทศะและบุคคล (วศิล อินทสระ : 2525) 18

ความหมายของจริยธรรม สรุป จริยธรรม จึงเป็นความเชื่อหรือ สรุป จริยธรรม จึงเป็นความเชื่อหรือ ความคิดที่ว่า ความประพฤติใดถูก ความประพฤติ ใดผิด อันเป็นการกำหนดมาตรฐานของพฤติกรรม ที่ได้รับการยอมรับร่วมกันของคนส่วนใหญ่ในสังคม เพื่อการดำรงตนประกอบอาชีพ และอยู่ร่วมกันใน สังคมอย่างมีความสุข 19

ความหมายของจริยธรรม จริยธรรมจะมีความเกี่ยวข้องกับ ความสัมพันธ์ พื้นฐานระหว่างมนุษย์ที่ใช้หลักเอาใจเขามาใส่ ใจเรา นั่นคือ ถ้าเราต้องให้ผู้อื่นคิดและปฏิบัติต่อเรา อย่างไร เราก็ควรคิดและปฏิบัติต่อผู้อื่นในมาตรฐาน เดียวกัน 20

จริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์ จริยธรรมและกฎหมาย (Ethics and Laws) ข้อกำหนดในการใช้คอมพิวเตอร์นั้นถูกกำหนดกฎเกณฑ์และสิทธิในการเข้าถึงข้อมูลได้ด้วย 2 วิธี คือ กำหนดด้วยจริยธรรม และ กำหนดด้วยกฎหมาย จุดประสงค์คือ การสร้างความเป็นระเบียบและความเรียบร้อย คุ้มครองสิทธิส่วนบุคคลในระบบสารสนเทศ

จริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์ กฎหมาย

ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์ ปัญหาในประเด็นต่างๆ ที่เกิดจากการนำเทคโนโลยีและระบบสารสนเทศเข้ามาใช้งาน ได้แก่ 1. สิทธิส่วนบุคคล (Privacy) 2. ความถูกต้อง (Accuracy) 3. ความเป็นเจ้าของ (Property) 4. การเข้าถึง (Access)

1. สิทธิส่วนบุคคล (Privacy) ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับ จริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์ 1. สิทธิส่วนบุคคล (Privacy) สิทธิส่วนบุคคลทางด้านกายภาพ (Physical Privacy) หมายถึง สิทธิในสถานที่ เวลา และทรัพย์สินที่บุคคลพึงมี เพื่อหลีกเลี่ยงจากการถูกก้าวก่ายหรือถูกรบกวนจากบุคคลอื่น สิทธิส่วนบุคคลทางด้านสารสนเทศ (Information Privacy) คือ ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับตัวบุคคล ที่บุคคลอื่นจะไม่สามารถนำไปเปิดเผยได้หากไม่ได้รับอนุญาต

2. ความถูกต้อง (Accuracy) ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์ 2. ความถูกต้อง (Accuracy) ความถูกต้องของข้อมูลและสารสนเทศที่จัดเก็บอยู่ในข้อมูลของระบบสารสนเทศต่างๆ มีความสำคัญเป็นอย่างมาก ซึ่งนอกจากข้อมูลและสารสนเทศนั้นจะต้องมีความถูกต้องแล้ว ผู้ที่ได้รับอนุญาตให้นำเสนอสารสนเทศต่างๆ ยังจะต้องนำเสนอสารสนเทศนั้นโดยไม่ผิดเพี้ยนหรือไม่มีการบิดเบียนให้ผู้อ่านเข้าใจผิดได้

ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์ 3. ความเป็นเจ้าของ (Property) กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property Rights) ทรัพย์สินทางปัญญาแบ่งเป็น 3 ประเภทได้แก่ 3.1. ลิขสิทธิ์ (Copyrights) 3.2. เครื่องหมายทางการค้า (Trademark) 3.3. สิทธิบัตร (Patent)

กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา 3.1. ลิขสิทธิ์ (Copyrights) ลิขสิทธิ์ เป็นการให้สิทธิแก่ผู้ผลิต...หรือผู้ประดิษฐ์.....แต่เพียงผู้เดียวที่จะสามารถทำการจำลอง คัดลอก โฆษณา หรือขายสิ่งที่สร้างหรือผลิตขึ้น สำหรับการละเมิดลิขสิทธิ์โดยส่วนใหญ่แล้วจะเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ทางด้านซอฟต์แวร์ (Software Piracy)

กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา 3.2. เครื่องหมายทางการค้า (Trademark) เครื่องหมายทางการค้า คือ เครื่องหมายที่ใช้หรือจะใช้เป็นเครื่องหมายเกี่ยวข้องกับสินค้า เพื่อแสดงว่าสินค้า....ที่ใช้เครื่องหมายของเจ้าของเครื่องหมายการค้านั้น แตกต่าง.....กับสินค้าที่ใช้เครื่องหมายการค้าของบุคคลอื่น

กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา 3.3. สิทธิบัตร (Patent) สิทธิบัตร หมายถึง สิทธิพิเศษที่กฎหมายบัญญัติให้....เจ้าของสิทธิบัตรมีสิทธิแต่เพียงผู้เดียว .....ในการแสวงหาผลประโยชน์.......จากการประดิษฐ์หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ได้รับสิทธิบัตรนั้น

ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์ 4. การเข้าถึง (Access) จรรยาบรรณ หมายถึง ประมวลความประพฤติที่ผู้ประกอบอาชีพการงานแต่ละอย่างกำหนดขึ้นเพื่อรักษาและส่งเสริมเกียรติคุณชื่อเสียง....และฐานะของสมาชิก

จรรยาบรรณในการใช้งานคอมพิวเตอร์ จะต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อก่ออาชญากรรมหรือละเมิดสิทธิของผู้อื่น จะต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์รบกวนผู้อื่น จะต้องไม่ทำการสอดแนม แก้ไข หรือเปิดดูไฟล์เอกสารของผู้อื่นก่อนได้รับอนุญาต จะต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ในการโจรกรรมข้อมูล ข้อมูลข่าวสาร จะต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานเท็จ จะต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ในการ...คัดลอกโปรแกรมที่มีลิขสิทธิ์ จะต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ใน..การละเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์โดยที่ตนเองไม่มีสิทธิ์ จะต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์.........เพื่อนำเอาผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง จะต้องคำนึงถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับสังคม ที่จะตามมาจากการกระทำนั้น จะต้องใช้คอมพิวเตอร์ โดยการเคารพกฎ ระเบียบ กติกา และมารยาท

ประเด็นที่เกี่ยวกับ จริยธรรมคอมพิวเตอร์ที่สำคัญ ประเด็นด้านทรัพย์สินทางปัญญา ไทยมีกฎหมายลิขสิทธิ์ที่ให้ความคุ้มครองโปรแกรม คอมพิวเตอร์แล้ว หากใครละเมิด คือนำโปรแกรมที่ไม่ได้ซื้อสิทธิ์การ ใช้มาให้ก็อาจจะเข้าข่ายละเมิด และ อาจถูก ผู้เป็น เจ้าของลิขสิทธิ์ฟ้องร้องได้ เวลานี้กลุ่มบริษัทซอฟต์แวร์ต่างประเทศได้ให้ สินบนแก่ผู้ที่แจ้งเบาะแสการใช้.... ซอฟต์แวร์ที่ละเมิด

ประเด็นที่เกี่ยวกับจริยธรรมคอมพิวเตอร์ที่สำคัญ ประเด็นด้านข้อมูล ข้อมูลคือทรัพย์สินที่สำคัญอย่างหนึ่ง ท่านจะต้องดูแลข้อมูลของท่านอย่างรอบคอบ การดูแลข้อมูล การเก็บบันทึกข้อมูลให้ถูกต้อง ควบคุมให้ผู้มีสิทธิ์ในการใช้ข้อมูลเท่านั้นที่เข้าถึงข้อมูลได้ ตรวจสอบว่าใครคือผู้ใช้ การใช้ข้อมูลนั้นเป็นไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ กำหนดไว้หรือไม่

ประเด็นที่เกี่ยวกับจริยธรรมคอมพิวเตอร์ที่สำคัญ 3. ประเด็นด้านเครือข่าย สิ่งที่ต้องพิจารณา คือ ต้องอย่างให้แฮกเกอร์บุกรุกเข้ามาทำลายโปรแกรมและข้อมูล ในระบบของเราได้ ต้องตรวจสอบการแพร่กระจายของไวรัสคอมพิวเตอร์ ซึ่ง ปัจจุบันได้เริ่มระบาดมากขึ้นและส่งผลเสียให้แก่ระบบต่าง ๆ อย่างกว้างขวาง จะต้องตรวจสอบไม่ให้พนักงานของเราประพฤติตนเป็นแฮก เกอร์เสียเอง หรือเป็นผู้สร้างไวรัสแล้วปล่อยออกไปอาละวาด ทำลายทรัพย์สินของผู้อื่น

ประเด็นที่เกี่ยวกับจริยธรรมคอมพิวเตอร์ที่สำคัญ 4. ตัวพนักงานเอง หน่วยงานและห้างร้านหลายแห่งมักจะปล่อยให้เจ้าหน้าที่ คอมพิวเตอร์ทำงานไปตามลำพังเพราะเห็นว่าเป็นงานด้านเทคนิคที่ ผู้บริหารไม่เข้าใจ การปล่อยปะละเลยเช่นนี้ไม่ถูกต้อง จำเป็นที่ผู้บริหารจะต้องตรวจสอบการทำงานของพนักงานว่าได้ ทำงานที่เกี่ยวข้องเฉพาะกับเรื่องของหน่วยงานเท่านั้นหรือไม่ พนักงานทำงานข้างนอกเข้ามาอาศัยสถานที่ทำให้บุคคลอื่น พนักงานอาจทำงานอยู่ดึก ๆ เพื่ออาศัยระบบอินเตอร์เน็ตสร้างความ เดือดร้อนให้แก่ผู้อื่น

ประเด็นที่เกี่ยวกับจริยธรรมคอมพิวเตอร์ที่สำคัญ 5. เอกสารต่าง ๆ ตลอดจนอีเมล์ หน่วยงานห้างร้านต่าง ๆ มักไม่ค่อยเข้มงวดในด้านการรักษา ความปลอดภัยของเอกสาร อาจเป็นไปได้ว่าเอกสารต่าง ๆ รวมทั้งอีเมล์ที่สำคัญ ๆ ได้หลุด รอดออกไปถึงผู้ไม่ปรารถนาดี หรือผู้ที่จ้องจะดำเนินการร้ายแก่ หน่วยงาน ผู้เป็นตัวการในด้านนี้ส่วนใหญ่ก็อาจจะเป็นพนักงานซึ่งอาจจะทำ ไปเพราะจงใจ หรือรู้เท่าไม่ถึงการณ์ก็ได้

References จริยธรรมคอมพิวเตอร์, รศ.ดร. ครรชิต มาลัยวงศ์ ที่มาและความหมายของจริยธรรม, ผศ.ดร. สันติยา เอกอัคร Peopleware & Ethics: http://www.cs.psu.ac.th/Wiphada/

ขอบคุณครับ http://www.nectec.or.th/ http://www.nstda.or.th/ Electronic * Computing * Telecommunication * Information NECTEC is the founder of ThaiSarn, Software Park, Internet Thailand, SchoolNet, ThaiCERT, PTEC, TMEC, HAII and GITS.