ความสำคัญของภาพ กับการผลิตรายการโทรทัศน์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สตอรี่บอร์ด (Story board)
Advertisements

Funny with Action Script
การถ่ายภาพงานพัฒนาชุมชน
บทที่ 7 การใช้ตัวอักษร สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษร ใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น.
ประโยชน์ของ เครื่องโปรเจคเตอร์
เรื่อง องค์ประกอบศิลป์ โดย นายสมพงษ์ ถาวรโชติวงศ์ โรงเรียนเบญจมราชาลัย
บทที่ 2 มาตรฐานการเขียนแบบ (The Convention of Drawing)
การวาดเส้นองค์ประกอบศิลป์
รูปแบบการจัดองค์ประกอบ
COMPOSITION องค์ประกอบศิลป์.
โดย นางสาวจิรวดี แก้วเจริญ
แผ่นแผนที่ (แผ่นล่าง)
ประวัติการถ่ายภาพ(1) วิชาการถ่ายภาพ ได้มีการพัฒนาต่อเนื่องกันมาหลายร้อยปีตามลำดับ ก่อนจะมีกล้องถ่ายภาพ จนในศตวรรษที่ 19 มนุษย์ก็ประสบความสำเร็จในการคิดค้นกระบวนการสร้างภาพ.
ปวดหลังส่วนล่าง LOW BACK PAIN
การบริหารร่างกายทั่วไป
การตบ (Spike) การตบ (Spike) เป็นทักษะที่สร้างความตื่นเต้นเร้าใจในการแข่งขัน เป็นทักษะที่จูงใจให้เด็กๆ อยากเล่นวอลเลย์บอลมากที่สุด สำหรับเนื้อหาในตอนนี้เป็นภาพรวมในด้านต่างๆ.
องค์ประกอบ Graphic.
การใช้บริการกูเกิล (Google) 1 การใช้บริการ Gmail 2 การใช้บริการ รูปภาพ บนเว็บ Google 3 การใช้บริการ Google Earth.
บทที่ 3 การเขียนภาพฉายในระนาบสองมิติ (ส่วนที่ 2)
Ultrasonic sensor.
ช่วงความชัดลึกของภาพ ภาพจะมีช่วงความชัดลึกมากหรือ น้อยขึ้นอยู่กับเหตุผล 3 ประการ คือ.
บทที่ 7 การทดสอบแรงอัด Compression Test
ทีมงานผลิตรายการโทรทัศน์ The Television Team
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
การบริหารกล้ามเนื้อต้นคอ
ลักษณะเวทีและการจัดที่นั่งผู้ชมในโรงละคร
2. เลนส์ปกติ หรือเลนส์มาตรฐาน (Normal lens or Standard lens)
3. ขึ้นอยู่กับระยะทางจากวัตถุถึงตัวกล้อง
การใส่ภาพลงบน Work Sheet...
รายงาน เรื่อง จัดรูปแบบข้อมูล จัดทำโดย ด. ญ. ธิกานดา วัลยาภรณ์ ชั้นม.2/1 เลขที่ 19 เสนอ อาจารย์ ภานุมาศ ชาติมองแดง โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต.
การกำหนดลักษณะตัวอักษร
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การเชื่อมเหตุการณ์ เวลา สถานที่ (Transition)
ศัพท์ทางเทคนิคกับการถ่ายทำและควบคุมกล้อง
การจัดองค์ประกอบภาพ.
การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
บทที่ 4 Power Point ขั้นตอนการทำสไลด์ รายละเอียดหน้าจอของ Power Point
วิชาคอมพิวเตอร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 นางพวงเพ็ญ อินทร์เอี่ยม
โรคการกดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมือ (Carpel Tunnel Syndrome)
ภาพตัด (Section View) สัปดาห์ที่ 6.
การเตรียมตัวถ่ายภาพ Outdoor Photography
TAKE PHOTO TAKE PHOTO วิธีใช้งาน : - นั่งตัวตรงด้านหน้าจอภาพ - มองตรงไปที่เลนส์ของกล้อง - กดปุ่ม TAKE PHOTO. - ห้ามเคลื่อนไหวในขณะที่ กล้องกำลังถ่าย และกรุณามองตรงไปที่เลนส์
Background / Story Board / Character
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ
ข้อเสื่อม เรื่องของใคร
HTML 1. รูปแบบพื้นฐานของ เอชทีเอ็มแอล
ขนาดภาพ.
การจัดองค์ประกอบของภาพ
การถ่ายวีดีโอ.
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
ความรู้พื้นฐานของระยะภาพ
รหัสวิชา บทที่ 4 การจัดรูปแบบเอกสาร.
กล้องโทรทรรศน์.
การสะท้อนแสงบนกระจกเงา
ครูสุนิสา เมืองมาน้อย
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
ปัจจัยสำคัญของภาพยนตร์
การเคลื่อนไหวของกล้อง
บทที่8 การเขียน Storyboard.
การสร้างสรรค์บทละคร.
นางสาวจุไรรัตน์ เพิ่มสุข
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
การเขียนบทวิทยุกระจายเสียง. ขั้นตอนการเขียนบทรายการวิทยุ ขั้นเริ่มต้นแนวคิด (Begin with idea) จะเป็น การบอกแนวทาง ขอบเขตและการวาง แผนการผลิตในอนาคต.
เทคนิคการถ่ายภาพทิวทัศน์-บุคคล ในเวลากลางวันและกลางคืน
การสร้างภาพบนเวทีและ การออกแบบเพื่อการแสดง
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
หลักองค์ประกอบทางศิลปะ
เทคนิคการเปลี่ยนภาพ โดยใช้อุปกรณ์ตัดต่อ วีดีทัศน์.
การเขียนบทสำหรับสื่อ
บทที่ 7 การเขียนบทรายการวิทยุโทรทัศน์เพื่อการ ประชาสัมพันธ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความสำคัญของภาพ กับการผลิตรายการโทรทัศน์ ความสำคัญของภาพ กับการผลิตรายการโทรทัศน์

หน่วยการนับภาพ Frame : ภาพนิ่งหนึ่งภาพ Shot : ภาพนิ่งหนึ่งภาพ Shot : เกิดจากหลายๆ Frame มาต่อกันเป็นภาพเคลื่อนไหว : ภาพที่เริ่มตั้งแต่กดปุ่ม start จนกระทั่ง stop

Scene : “ฉาก” : หลาย shot เชื่อมต่อกัน ให้มีความต่อเนื่อง (continue) เป็น เรื่องราวในสถานที่แห่งหนึ่ง Sequence : “ตอน” : หลาย Scene มาประกอบกัน เป็นการดำเนินเรื่องที่ชัดเจน

ขนาดภาพ Picture size / Shot size : ขนาดภาพที่ต่างกัน จะสื่อความหมายต่างกัน 1. Extreme Long Shot (ELS) Establishing Shot : ขนาดภาพกว้างมาก : ภาพเปิดฉาก ( Open Scene) : บอกภาพรวมในฉากทั้งหมด

Long Shot (LS.) : ภาพกว้าง : ภาพบุคคลขนาดเต็มตัว Full shot : ภาพสถานที่เห็นอาคารทั้งหลัง

Medium Long Shot (MLS.) : ภาพบุคคลตั้งแต่ศีรษะถึงหัวเข่า Knee shot : เห็นตัวผู้แสดงเคลื่อนไหวสัมพันธ์กับฉากหลัง

4. Medium Shot (MS.) : ภาพขนาดครึ่งตัว Mid shot / Waist shot : หากจับภาพ 2 คน เรียก Two shot 3 คน ,, Three shot หลายคน ,, Group shot : นิยมใช้เชื่อมเพื่อรักษาความต่อเนื่อง ของภาพ LS กับ ภาพ CU

5. Medium Close UP (MCU.) : ภาพบุคคลตั้งแต่ระดับอกขึ้นไป Bust shot : สื่อความใกล้ชิดเป็นกันเองมากขึ้น : ใช้ในรายการสนทนา ที่เห็นเฉพาะคนใดคนหนึ่งเท่านั้น

6. Close Up (CU.) : ภาพขนาดใหญ่ : ภาพบุคคลตั้งแต่ระดับไหล่ขึ้นไป : ส่วนใหญ่ใช้ในงานละคร ภาพเน้นความรู้สึก

7. Big Close Up (BCU.) : จับภาพเฉพาะส่วนใบหน้า ส่วนที่แสดงอารมณ์ 8. Extreme Close Up (ECU.) : เน้นเฉพาะจุดที่สำคัญเท่านั้น : อวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่ง

การเคลื่อนกล้อง และการปรับเลนส์ (Camera Movement) Pan : การหันกล้องไปทางซ้ายและขวา (แนวนอน) : Pan left / Pan right Tilt : การก้มและเงยกล้อง (แนวดิ่ง) : Tilt up / Tilt down

Dolly : เคลื่อนกล้องบนราง เข้าหา / ถอยออกจากวัตถุ : Dolly in / Dolly out Track / Truck / Crab : เคลื่อนกล้องบนราง วัตถุที่มีล้อ ตามวัตถุไปด้านข้าง

Elevate / Depress : Elevate = การยกกล้องขึ้น : Depress = การลดกล้องลง : Pedestal อุปกรณ์ในการยกกล้องขึ้นลง Ped up / Ped down : ใช้แทนสายตาคนลุกขึ้น หรือนั่งลง

: การเคลื่อนกล้องเป็นมุมโค้งรอบวัตถุ Crane : ตั้งกล้องบนเครน : Crane up / Crane down 7. Arc : การเคลื่อนกล้องเป็นมุมโค้งรอบวัตถุ

8. Zoom : การปรับภาพให้วัตถุใหญ่ หรือเล็กลง โดยใช้เลนส์ : Zoom in = ขยายวัตถุ Zoom out = ย่อวัตถุ

9. Di Focus : การปรับเลนส์ โดยปรับภาพที่คมชัดอยู่ให้พร่ามัว (Blur) แล้วกลับมาคมชัดเหมือนเดิม 10. Shift Focus : การปรับเลนส์ ให้คมชัดเฉพาะจุดที่ต้องการเน้น และให้พร่ามัวในอีกจุดหนึ่ง แล้วปรับสลับกันไปมา

ระดับมุมมองของกล้อง มุมภาพระดับสายตา (Eye Level Shot) : มุมที่ใช้มองในชีวิตประจำวัน : มุมปกติ (normal camera angle) : มักใช้กล้องสูงระดับอก (a chest high camera angle) : การสนทนากันอย่างปกติ เท่าเทียมกัน

ภาพมุมต่ำ (Low Angle Shot) : กล้องต่ำกว่าผู้แสดง แล้วเงยกล้องขึ้นประมาณ 70 องศา : สื่อถึงความยิ่งใหญ่ มีอำนาจ แข็งแรง : แทนสายตาผู้ที่มีฐานะต่ำกว่า

มุมสายตาหนอน (Worm’s eye view) : มุมต่ำ กล้องเงยตั้งฉาก 90 องศากับสิ่งที่จะถ่าย : ใช้กับวัตถุที่ตกลงมาจากที่สูงสู่พื้น เคลื่อนบังเฟรม : เป็นมุมที่มีลักษณะเด่น

ภาพมุมสูง (High Angle Shot) : ตั้งกล้องสูงกว่าผู้แสดง ถ่ายกดลงมาประมาณ 45 องศา : ความรู้สึกต่ำต้อย น่าสงสาร : แทนสายตาของคนที่มองจากที่สูงลงมา

5. มุมสายตานก (Bird’s eye view) : มุมตั้งฉาก 90 องศาแนวดิ่งกับสิ่งที่จะถ่าย : ถ่ายมาจากเฮลิคอปเตอร์ helicopter shot airplane shot aerial shot : ใช้แทนสายตาคนที่อยู่บนที่สูง สร้างความหวาดเสียว

6. มุมเอียง (Oblique angle shot) : มุมที่แสดงถึงความไม่สมดุล : ใช้ในฉากชุลมุนโกลาหล แผ่นดินไหว : แทนสายตาตัวละคร คนเมา หกล้ม สับสน : Dutch angle / Tilted shot / Canted shot

7. มุมผ่านไหล่ (Over Shoulder Shot / OS) : ตั้งกล้องถ่ายเฉียงผ่านไหล่ของคู่สนทนา

- พื้นที่ว่างด้านหน้าบุคคลที่หันด้านข้างให้กล้อง : “Nose room” - พื้นที่ว่างด้านหน้าบุคคลที่หันด้านข้างให้กล้อง - ควรเหลือพื้นที่ด้านหน้าบุคคลไว้ เพื่อสื่อว่า “มีอะไรอยู่ด้านหน้าคนนั้น”

องค์ประกอบภาพ (picture composition) ข้อพึงระวัง : คำนึงถึง background / foreground : “Head room” - พื้นที่เหนือศีรษะ จนถึงจอภาพด้านบน - อย่าให้ชิดหรือห่างเกินไป

- พื้นที่ว่างด้านหน้าบุคคลขณะกำลังเดินไปจอภาพอีกด้าน : “Walking room” - พื้นที่ว่างด้านหน้าบุคคลขณะกำลังเดินไปจอภาพอีกด้าน - เว้นพื้นที่ด้านหน้าให้มากกว่าด้านหลัง

มุมมอง มุมคนดู / มุมของผู้ชม (Objective Angle) : มุมมองที่ผู้ชมเป็นผู้สังเกตการณ์ : ใช้มากในละคร / ภาพยนตร์ มุมแทนความรู้สึกผู้ชม (Subjective Angle) : มุมมองที่ให้ผู้ชมรู้สึกมีส่วนร่วมในเหตุการณ์ : ถ่ายแบบ hand held

มุมมองผสมระหว่างมุมของผู้ชม และมุมแทนความรู้สึกผู้ชม : มุม Point of View : ผู้ดำเนินรายการคุยกับผู้ชมและคุยกับวิทยากรสลับไปมา

การถ่ายโดยใช้กล้องตัวเดียว กำหนดจุดวางตำแหน่งกล้อง (กล้อง 1 - 2 – 3) เริ่มถ่ายตำแหน่งกล้อง 2 : ถ่ายภาพมุมกว้างไว้ทั้งหมด ให้ทั้ง 2 สนทนากัน จดประเด็นคำถาม & คำตอบไว้

ย้ายมาตำแหน่งกล้อง 3 : ถ่ายเฉพาะคนซ้าย พูดซ้ำเฉพาะคำถาม / คำตอบที่จดไว้ : ถ่ายขณะไม่ได้พูด แต่กำลังรับฟัง พยักหน้า/ยิ้ม ย้ายมาตำแหน่งกล้อง 1 : ถ่ายเฉพาะคนขวา วิธีเดียวกับกล้อง 3 ตัดต่อลำดับภาพ

เส้นแกน 180 องศา / เส้นสมมุติ (Action Line) : ใช้กับการถ่ายกล้องหลายตัว : กำหนดเส้นสมมุติขึ้น อย่าตั้งกล้องเลยเส้นนั้น เพราะจะทำให้ภาพกลับทิศทาง