การควบคุมระบบออโตเมชั่น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Grade A Garment This template can be used as a starter file for a photo album.
Advertisements

หลักการจัดองค์การ เป้าหมาย.
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
โครงสร้างของระบบปฏิบัติการ Operating System Structure
บทที่ 10 ระบบบัญชีเกี่ยวกับการควบคุมสินค้าคงเหลือ
โครงงานเรื่อง การบริหารสินค้าคงคลัง
การวิเคราะห์ระบบและวิธีปฏิบัติงาน
หลักพื้นฐานในการวางแผนโดยงบประมาณ
Information System.
ระบบสารสนเทศและการพัฒนาระบบ Information Systems and System Development
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
PLC คืออะไร?           Programmable Logic Controller เครื่องควบคุมเชิงตรรกะ
ซอฟต์แวร์.
ระบบการผลิตแบบลีน (Lean Manufacturing)
รายวิชา ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
องค์การสมัยใหม่ (Modern organization) หมายถึง การที่มีกลุ่มคนมาทํางาน ร่วมกันอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้บรรลุเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งองค์สมัยใหม่การมีลักษณะร่วมกันอยู่
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System)
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System :MIS)
สำนักเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Surachai Wachirahatthapong
Business Information System ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
CAD / CAM CAD : COMPUTER AIDED DESIGN การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ
เทคโนโลยี 20 อย่างที่ต้องรู้ในงาน ควบคุม และ ระบบออโตเมชั่น
ACTUATOR SENSOR INTERFACE
ระบบกลไก.
อุปกรณ์ขับเคลื่อนแบบหมุน
ได้กล่าวว่า ในระดับบุคคลข่าวสารที่ ได้จากระบบ ช่วยทั้งในแง่ ส่วนตัวและวิชาชีพ ในระดับองค์การ การจะมีส่วนช่วยองค์การให้มี ประสิทธิภาพจะมีผลกระทบต่อกล ยุทธ์และความสำเร็จขององค์การ.
The General Systems Theory
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
สภาวะแวดล้อมของธุรกิจ
การเงิน.
บทที่ 3 การวิเคราะห์โครงสร้าง Structure Analysis
บทที่ 11 ระบบสารสนเทศ.
การปฏิบัติงานและสนับสนุนระบบ
บทที่ 15 Start การซ่อมบำรุงระบบ (System Maintenance) Next.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานในการ พัฒนาระบบ
มาตรฐานทางการเงิน 7 ด้าน
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
องค์ประกอบทางด้านซอฟต์แวร์
Information Technology
สาเหตุของการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในธุรกิจ
IS กับ IT IS ต้องอาศัย IT
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
บทบาทของระบบสารสนเทศในองค์การ
Geographic Information System
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
บุคลากรคอมพิวเตอร์.
ระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหาร
การจัดการฐานข้อมูล.
ระบบสารสนเทศ เพื่อการสื่อสาร
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ และบทบาทของนักวิเคราะห์ระบบ
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
บทที่ 7 การนำโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานอุตสาหกรรม
MRO = Maintenance Repair Operation
โรงเรียนเทคโนโลยีภูเขียว
ระบบสารสนเทศย่อยทางธุรกิจ Business Information systems
บทที่ 11 ระบบสารสนเทศ.
กลยุทธ์กระบวนการและการวางแผนกำลังการผลิต
ข้อมูลและสารสนเทศ จัดทำโดย ด.ญ.จารุรัตน์ เสียงโต ม.1.2 เลขที่ 8 นำเสนอ คุณครู กวีวรรณ เดชปักษ์ โรงเรียนดำรงราษฎร์สงเคราะห์ จังหวัดเชียงราย.
บทที่ 8 ผลิตภัณฑ์การบริหารการผลิต
ระบบสารสนเทศที่แบ่งตามลักษณะการสนับสนุนการทำงาน:
การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ 1
บทที่1 การบริหารการผลิต
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
1. ความหมายขององค์กรธุรกิจ องค์กรธุรกิจ หมายถึง กลุ่มคนซึ่งร่วมกันทำกิจกรรมทางธุรกิจเพื่อหวัง ผลตอบแทนเป็นกำไรและการลงทุน 2. ระบบสารสนเทศในเชิงธุรกิจ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การควบคุมระบบออโตเมชั่น

ลำดับชั้นของการควบคุมระบบออโตเมชั่น คำว่า “Automation hierarchy” นั้นกล่าวถึงระดับของการควบคุมงานออโตเมชั่น พื้นที่ที่ใช้งาน ความสามารถในการทำงานและทิศทางการไหลของข้อมูล ทั้งนี้เพื่อประโยชน์ในการจัดการข้อมูลที่ซับซ้อนของระบบออโตเมชัน ซึ่ง Automation hierarchy จะถูกแบ่งเป็น 5 ระดับชั้น

ลำดับชั้นของการควบคุมระบบออโตเมชั่น ลำดับชั้นของการควบคุมระบบออโตเมชัน

ลำดับชั้นของการควบคุมระบบออโตเมชั่น ระดับที่ 1 : Factory management level เป็นระดับที่สูงสุดโดยมีความสำคัญในการตัดสินใจเกี่ยวกับการวางแผนและความคุมการผลิต (Planning and Production Control : PPC) ซึ่งจำเป็นที่จะต้องนำข้อมูลจากทุกฝ่าย เช่น ฝ่ายขาย ฝ่ายบัญชี ฝ่ายต้นทุน ฝ่ายวัสดุ เป็นต้น มาทำการประมวลผลเพื่อการตัดสินใจ

ลำดับชั้นของการควบคุมระบบออโตเมชั่น ระดับที่ 2 : Coordinating level เป็นระดับที่มีหน้าที่รับคำสั่งมาจากระดับที่ 1 จากนั้นก็จะทำการแจกจ่ายงานไปยังหน่วยการผลิต (work cell) เช่น การสั่งงานไปที่หน่วยประกอบ (Assembly cell) หน่วยสโตร์ (Store cell) หน่วยการขึ้นรูป (Machine tool cell) จากนั้นก็จะมีการรายงานผลไปยังระดับที่ 1 เพื่อใช้ในการประมวลผลต่อไป

ลำดับชั้นของการควบคุมระบบออโตเมชั่น ระดับที่ 3 : System level เป็นระดับหน่วยการผลิต (Cell level) ซึ่งจะทำหน้าที่ดูแลหน่วยการผลิตนั้น ๆ ในทุก ๆ เรื่องอย่างเช่น การกำหนดขึ้นตอนการผลิตการซ่อมบำรุง (Maintenance) การวิเคราะห์งาน (Diagnostic) การควบคุมคุณภาพ

ลำดับชั้นของการควบคุมระบบออโตเมชั่น ระดับที่ 4 : Control level เป็นระดับของคอนโทรลเลอร์เช่น RC (Robotic Controller), CNC , PLC (Programmable logic Controller)

ลำดับชั้นของการควบคุมระบบออโตเมชั่น ระดับที่ 5 : Sensor actuator level เป็นระดับของอุปกรณ์ทำงานและเซนเซอร์ซึ่งเป็นระดับล่างสุด