การบริโภค การออม และการลงทุน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทิศทางการดำเนินงานกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
Advertisements

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา Personal Income Tax
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
การประเมินโครงการลงทุน Capital Budgeting
การคำนวณกระแสเงินสด คำนวณกระแสเงินสดเพื่อใช้ประเมินโครงการลงทุน (Capital budgeting)
ค่าของทุน The Cost of Capital
สำนักวิชาบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
สถาบันคุ้มครองเงินฝาก 21 สิงหาคม 2551
บทที่ 4 รายได้ประชาชาติ National Income.
บทที่ 8 โครงสร้างเงินทุน
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.
สินทรัพย์หมุนเวียน-สินค้า เงินสด+หลักทรัพย์+ลูกหนี้
ฝึกคำนวณค่าโทรศัพท์มือถือ
Advance Excel.
สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัย
การวางแผน ธุรกิจ เป็นกระบวนการ บริหารจัดการทาง การเงินที่สำคัญของ คณะกรรมการกองทุน หมู่บ้าน.
เราควรมีเงินเก็บเท่าไรก่อนที่คิดจะลงทุน
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
CHAPTER-15 “NATIONAL DEBT”
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
Topic 10 ระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพ และการเปลี่ยนแปลง
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิชา เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น Introduction to Economics Lecturer : Orasa Tuntiyawongsa Faculty of Applied Arts. KMITNB
บทที่ 5 บัญชีรายได้ประชาชาติ
ปัญหาเศรษฐกิจที่สำคัญและแนวทางแก้ไข
เงินเฟ้อ เงินฝืด และการว่างงาน
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
การผลิตและต้นทุนการผลิต
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ส่วนประกอบของรายได้ประชาชาติ
สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน
งบลงทุน Capital Budgeting
Financial Management.
บทบาทของการบริหารการเงิน (The Role Financial Management)
บทที่ 1 หลักการและหน้าที่ทางการเงิน
บทที่ 4 ผลตอบแทนและความเสี่ยง (1)
บทที่ 3 คณิตศาสตร์การเงิน (3)
เป้าประสงค์ คิดคำนวณกำไร – ขาดทุนจากการประกอบอาชีพ
การวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน
LOGO บัญชีรายได้ประชาชาติและองค์ประกอบค่าใช้จ่าย.
การวางแผนกำไร (Profit Planning)
การวิเคราะห์ทางการเงิน (Financial Analysis)
บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
เงินฝากมี 3 ประเภท คือ เงินฝากออมทรัพย์ทั่วไป เงินฝากออมทรัพย์พิเศษ
5.3 การใช้จ่ายของรัฐ การเก็บภาษี และนโยบายเศรษฐกิจ
การใช้ CAPM ประมาณการต้นทุนของเงินทุน
หน้าที่ของกรมธรรม์ประกันชีวิต (สัญญาหลัก)
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
ดุลการชำระเงิน Balance of payment
แหล่งที่มาและการใช้ไปของเงินทุนในสหกรณ์ เครดิตยูเนี่ยน
การรวมธุรกิจ.
บทที่ 4 การกำหนดขึ้นเป็นรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
บทที่ 2 รายได้ประชาชาติ
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
บทที่ 3 งบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันซื้อหุ้น
FINANCIAL PLANNING (CASH BUDGET)
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
บทที่ 4 ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริโภค การออม และการลงทุน

Classical Theory and The Keynesian Revolution

มีการจ้างงานเต็มที่ในระยะยาว Classical Theory Classical Economist : Adam Smith มีการจ้างงานเต็มที่ในระยะยาว Say’s Law Supply creates its own Demand

Keynesian School of Economics John Maynard Keynes The General Theory of Employment, Interest and Money (ปี ค.ศ. 1939) Demand creates its own Supply

Aggregate Expenditure = C + I + G + (X – M) Aggregate Demand = C + I + G + (X – M)

รายจ่ายเพื่อการบริโภคและการออม Consumption Expenditure [C] and Saving [S]

ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม รายได้สุทธิส่วนบุคคลหรือรายได้ที่ใช้จ่ายได้จริง (Disposable Income) รายได้ C S รายได้ C S

ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม ขนาดของสินทรัพย์สภาพคล่อง สินทรัพย์สภาพคล่อง คือ สิ่งที่เราถือว่าเป็นเงิน (Money) ได้แก่ เงินสด เงินฝากกระแสรายวัน เงินฝากประจำ พันธบัตร ทองคำ หุ้น และที่ดิน ซึ่งสิ่งต่างๆ เหล่านี้สามารถเปลี่ยนเป็นเงินได้รวดเร็วและ ไม่เสียค่าใช้จ่ายมากนัก

> C ก C ข นาย ก. มีรายได้ 10,000 บาท/เดือน นาย ข. มีรายได้ 10,000 บาท/เดือน มีเงินฝากประจำ 1,000,000 บาท มีที่ดินมูลค่า 1,000,000 บาท C ก C ข >

ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม สินค้าถาวรที่ผู้บริโภคมีอยู่ อุปนิสัยในการใช้จ่ายของผู้บริโภค สินเชื่อเพื่อการบริโภคและอัตราดอกเบี้ย การคาดคะเนราคาสินค้าในอนาคต การคาดคะเนรายได้ในอนาคต ปัจจัยอื่นๆ

ฟังค์ชั่นการบริโภคและการออม C = f ( Yd, A1, A2, A3, … ) C คือ รายจ่ายเพื่อการบริโภค Yd คือ รายได้สุทธิ หรือ รายได้ที่ใช้จ่ายได้จริง (DI) A1, A2, A3,… คือ ปัจจัยอื่นๆ เมื่อ

ฟังค์ชั่นการบริโภคและการออม C = f ( Yd, A1, A2, A3, … ) ในระยะสั้น Consumption Function คือ C = f (Yd ) Saving Function S = f ( Yd )

ความโน้มเอียงเฉลี่ยในการบริโภค (Average Propensity to Consume : APC) อัตราส่วนของค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคต่อรายได้ ค่าที่แสดงว่ารายจ่ายในการบริโภคคิดเป็นสัดส่วนเท่าใดของรายได้ C Yd APC =

ความโน้มเอียงเฉลี่ยในการออม (Average Propensity to Save : APS) อัตราส่วนของการออมต่อรายได้ ค่าที่แสดงว่าการออมคิดเป็นสัดส่วนเท่าใดของรายได้ S Yd APS =

ความโน้มเอียงส่วนเพิ่มในการบริโภค (Marginal Propensity to Consume : MPC) อัตราส่วนของการเปลี่ยนแปลงรายจ่ายในการบริโภคต่อการเปลี่ยนแปลงของรายได้ C  Yd MPC =

ความโน้มเอียงในการออมหน่วยสุดท้าย (Marginal Propensity to Save : MPS) อัตราส่วนของการเปลี่ยนแปลงของการออมต่อการเปลี่ยนแปลงของรายได้ S  Yd MPS =

0.25 - 0.75 0.12 0.11 0.08 0.05 -0.08 -0.25 -0.75 0.88 0.89 0.92 0.95 1.00 1.08 1.25 1.75 100 75 50 25 -25 -50 -75 -100 700 800 625 550 600 475 500 400 325 300 250 200 175 MPS MPC APS APC S C Yd

ระดับรายได้เสมอตัว (Break even) C Yd C, S 100 -100 200 400 600 800 300 500 700 S C = Yd ระดับรายได้เสมอตัว (Break even)

Yd = 500  APC = 0.95 , APS = 0.05 ณ รายได้ 500 บาท โดยเฉลี่ยแล้ว เงิน 1 บาท จะนำไปบริโภค 0.95 บาท และนำไปออม 0.05 บาท Yd = C + S ถ้า Yd = 1 Yd 1 = APC + APS

เมื่อ Yd เพิ่มขึ้น C จะเพิ่มขึ้น Keynes : เมื่อ Yd เพิ่มขึ้น C จะเพิ่มขึ้น แต่ C จะเพิ่มขึ้นน้อยกว่า Yd ที่เพิ่มขึ้น MPC > 0 MPC < 1 0 < MPC < 1 MPC

MPC = 0.75 , MPS = 0.25 ถ้ามีรายได้เพิ่มขึ้น 1 บาท จะใช้จ่ายเพื่อการบริโภคเพิ่มขึ้น 0.75 บาท และนำไปออมเพิ่มขึ้น 0.25 บาท Yd = C + S ถ้า Yd = 1 Yd = C + S Yd 1 = MPC  Yd ดังนั้น = C + S + MPS

การลงทุน (Investment : I)

การลงทุน (Investment : I) ค่าใช้จ่ายในการผลิตสินค้าทุน (Capital goods) การใช้จ่ายโดยมีวัตถุประสงค์สำคัญ คือ ทำให้ การผลิตสินค้าและบริการในอนาคตเพิ่มขึ้น

การซื้อหุ้นในตลาดหลักทรัพย์ การซื้อที่ดินเพื่อเก็งกำไร การซื้อสินทรัพย์และหลักทรัพย์มือสอง ไม่ถือเป็นการลงทุน แต่เป็นการลงทุนทาง การเงิน (Financial Investment)

ประเภทของการลงทุน การลงทุนโดยอิสระ (Autonomous investment) การลงทุนโดยจูงใจ (Induced investment)

การลงทุนโดยอิสระ (Autonomous investment) ค่าใช้จ่ายเพื่อการลงทุนที่ไม่มีความสัมพันธ์กับรายได้ประชาชาติ I Y Ia

การลงทุนโดยจูงใจ (Induced investment) การลงทุนที่มีความสัมพันธ์กับรายได้ประชาชาติ และความสัมพันธ์นี้จะเป็นไปในทิศทางเดียวกัน Y I Y I I Y Ii

รายได้ที่เพิ่มขึ้นนี้ต้องเป็นรายได้ที่องค์กรธุรกิจคาดว่าจะเพิ่มขึ้นอย่างถาวรเป็นระยะเวลานาน จึงจะมีผลจูงใจให้กลุ่มธุรกิจลงทุนเพิ่ม Y I C G

ตัวทวี หรือ ตัวคูณ (Multiplier) ระบบเศรษฐกิจที่ไม่มีรัฐบาลและการค้าระหว่างประเทศ GDP = Y = C + I I = 25 ล้านบาท (C คงที่) Y = 100 ล้านบาท Multiplier

ตัวทวี หรือ ตัวคูณ (Multiplier) ตัวเลขที่แสดงว่าเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในค่าใช้จ่ายเพื่อการลงทุน (I) แล้วระดับรายได้ประชาชาติ (Y) จะเปลี่ยนแปลงไปในสัดส่วนเท่าใดของการเปลี่ยนแปลงค่าใช้จ่ายเพื่อการลงทุนนั้น ตัวเลขที่แสดงว่าเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงค่าใช้จ่ายเพื่อการลงทุน (I) ระดับรายได้ประชาชาติ (Y) จะเปลี่ยนแปลงไปเท่ากับตัวทวีคูณด้วยปริมาณการเปลี่ยนแปลงในค่าใช้จ่ายเพื่อการลงทุนนั้น

Y = C + I I = 25 ล้านบาท (C คงที่) Y = 100 ล้านบาท 100 = 25 4 x ถ้ามีการลงทุนเพิ่มขึ้น 1 หน่วย รายได้ประชาชาติจะเพิ่มขึ้น 4 เท่าของการลงทุนที่เพิ่มขึ้น Multiplier

100 = 4 x 25 Y = k x I ( k : Multiplier ) Y I k =

การทำงานของตัวทวี รวม การออมที่เพิ่มขึ้น การบริโภคที่เพิ่มขึ้น 25 75 100 รวม I = 25 ... 1.98 5.93 7.91 5 2.64 10.55 4 3.51 14.06 3 4.69 18.75 2 6.25 25.00 1 การออมที่เพิ่มขึ้น การบริโภคที่เพิ่มขึ้น การเพิ่มขึ้นของรายได้ Y รอบการใช้จ่าย การลงทุนที่เพิ่มขึ้น I กำหนด MPC = 0.75 MPS = 0.25 1 x 25 = 0.75 x 25 = (0.75)2 x 25 = (0.75)3 x 25 = (0.75)4 x 25 =

100 = (1 x 25) + (0.75 x 25) + ((0.75)2 x 25) + ((0.75)3 x 25) + ((0.75)4 x 25) + ... (1 + 0.75 + 0.752 + 0.753 + 0.754 + ... + 0.75n ) x 25 1 1 – 0.75 x 25 Y = 1 – MPC x  I MPS = 0.25

Y = k x I ( k : Multiplier ) Y = 1 1 – MPC x  I MPS

Y = C + I Y = C + I 1 = MPC + I 1 - MPC = 1 – MPC MPS k

< k <  จาก 1 พิจารณา ถ้า I = 25 k = k < > 0 < MPC < 1 จาก < k < 1  พิจารณา ถ้า I = 25 MPC = 0.75 k = 4 MPC < 0.75 k Y = 100 Y < MPC > 0.75 >

รายได้ประชาชาติใหม่เท่ากับ 200 ล้านบาท เดิมรายได้ประชาชาติเท่ากับ 100 ล้านบาท ต่อมามีการลงทุนเพิ่มขึ้น 20 ล้านบาท รายได้ประชาชาติใหม่เท่ากับเท่าใด ถ้า MPC = 0.8 k 1 1 – MPC = 1 – 0.8 = 5 Y I 5 20 Y = 5 x 20 = 100 ล้านบาท รายได้ประชาชาติใหม่เท่ากับ 200 ล้านบาท