งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Topic 10 ระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพ และการเปลี่ยนแปลง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Topic 10 ระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพ และการเปลี่ยนแปลง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Topic 10 ระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพ และการเปลี่ยนแปลง

2 รายได้ประชาชาติดุลยภาพ
รายได้ประชาชาติที่อยู่ในระดับเดียวกับความต้องการใช้จ่ายมวลรวม เป็นระดับรายได้ประชาชาติที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ตราบเท่าที่องค์ประกอบของความต้องการใช้จ่ายมวลรวมยังคงสภาพเดิม (Aggregate Demand = Aggregate Suppy) การวิเคราะห์รายได้ดุลยภาพในแบบจำลองแบ่งได้ 2 แนวทาง คือ - แนวทางอุปสงค์รวมเท่ากับอุปทาน (AD = AS) - แนวทางส่วนรั่วไหลเท่ากับส่วนอัดฉีด (S+T+M = (I+G+X)

3 แนวทางอุปสงค์รวมเท่ากับอุปทาน
อุปสงค์รวมประกอบด้วย C +I +G+ (X-M) = AD (Aggregate Demand) อุปทานรวมคือผลิตภัณฑ์ประชาชาติ = Y = AS (Aggregate Supply) ข้อสมมุติ GDP at mkp = NI ดังนั้น NI = Y รายได้ประชาชาติอยู่ในดุลยภาพเมื่อ C + I + G + (X-M) = Y

4 การวิเคราะห์จากกราฟ Y , AS AD AD < (Y , AS) AD = C + I +G + (X-M) E
ADe AD > AS Y Y1 Ye Y2

5 Example (1) Suppose C = 100 +0.8 Yd I = 100 mil. bt G = 200 mil. bt
X = 50 mil. bt M = 30 mil.bt T = 10 mil. Bt จงหา ระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพ , graph

6 แปรดังกล่าวเพิ่มขึ้น ประกอบด้วย S , T , M
แนวทางส่วนรั่วไหลเท่ากับส่วนอัดฉีด - ส่วนรั่วไหล คือ ส่วนที่ทำให้รายได้ประชาชาติลดลง เมื่อตัว แปรดังกล่าวเพิ่มขึ้น ประกอบด้วย S , T , M - ส่วนอัดฉีด คือ ส่วนที่ทำให้รายได้ประชาชาติเพิ่มขึ้น เมื่อตัว แปรดังกล่าวเพิ่มขึ้น ประกอบด้วย I , G , X รายได้ประชาชาติจะอยู่ในระดับดุลยภาพก็ต่อเมื่อ S + T +M = I + G + X สมมติให้ I : เป็นการลงทุนอิสระ

7 การวิเคราะห์จากกราฟ S+T+M=I+G+X S+T+M E I+G+X Y1 Ye Y2 Y -Ca+Ma

8 Example (2) Suppose C = 100 +0.8 Yd I = 100 mil. bt G = 200 mil. bt
X = 50 mil. bt M = 30 mil.bt T = 10 mil. Bt จงหา ระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพด้วยวิธี ส่วนรั่วไหลเท่ากับส่วนอัดฉีด , แสดง graph

9 การเปลี่ยนแปลงระดับดุลยภาพและระดับว่าจ้างทำงานดุลยภาพ
รายได้ประชาชาติดุลยภาพจะเปลี่ยนแปลง เมื่อตัวกำหนดรายได้เปลี่ยนแปลง ตัวกำหนดรายได้ดุลยภาพ คือ อุปสงค์รวมและอุปทานรวม เมื่อตัวกำหนดอุปสงค์รวมเปลี่ยนแปลง เช่น การเปลี่ยนแปลงของปัจจัยที่มีผลต่อ C , I , G , (X-M) ตัวได้ตัวหนึ่งเปลี่ยนหรือทุกตัวพร้อมกัน จะทำให้รายได้ดุลยภาพเปลี่ยนแปลงไปด้วย หรือ เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของส่วนรั่วไหลและส่วนอัดฉีด

10 การวิเคราะห์จากกราฟ กำหนดรายจ่ายของการลงทุนเพิ่มขึ้น
การวิเคราะห์จากกราฟ กำหนดรายจ่ายของการลงทุนเพิ่มขึ้น Y1 Y2 Y AD1 AD2 AD Y1 Y2 Y I+G+X I+G’+X S+T+M

11 ทฤษฎีว่าด้วยตัวทวี (Multiplier)
คือ ค่าที่เป็นตัวเลขที่แสดงว่าเมื่อมีการเปลี่ยนแลงในรายจ่ายอิสระแล้ว ระดับรายได้ประชาชาติจะเปลี่ยนแปลงไปเท่าใดของรายจ่ายอิสระ เช่น Y = k I เมื่อ Y : การเปลี่ยนแปลงของรายได้ประชาชาติ I : การเปลี่ยนแปลงของรายจ่ายในการลงทุน k : ตัวทวี ซึ่งมีค่าเท่ากับ 1 / (1 - MPC) = 1 / MPS Assumptions : 1. Close economy 2. All variables are autonomous except C

12 Example (3) From Exs 1 and 2 , C = Yd, I = 100 mil. Bt, G = 200 mil. Bt., X = 50 mil. Bt., M = 30 mil.bt., T = 10 mil. Bt Suppose investment increase by 100 mil bt. (การลงทุนเพิ่มขึ้น 100 mil bt, I = 100 ) จงหา k

13 ช่วงห่างการเฟ้อ และช่วงห่างการฝืด
รายได้ประชาชาติดุลยภาพ (YE) ที่เกิดขึ้นในขณะใดขณะหนึ่ง อาจจะมีค่าไม่เท่ากับรายได้ประชาชาติ ณ ระดับที่มีการจ้างงานเต็มที่(Full Employment Income หรือ Potential Income; YF) เมื่อไม่เท่ากันส่วนต่างดังกล่าวเรียกว่า ช่วงห่างรายได้ (Income gap) ซึ่งมี 2 ชนิด คือ ช่วงห่างการเฟ้อ และช่วงห่างการฝืด (YE ≠ YF) ช่วงห่างการเฟ้อ (Inflationary gap) : สภาวะที่ความต้องการใช้จ่ายมวลรวมที่เกิดขึ้นจริงมีค่ามากกว่าความต้องการใช้จ่ายมวลรวมที่มีการจ้างงานเต็มที่(YE >YF) ช่วงห่างการฝืด (Deflationary gap) : สภาวะที่ความต้องการใช้จ่ายมวลรวมที่เกิดขึ้นจริงมีค่าต่ำกว่าความต้องการใช้จ่ายมวลรวมที่มีการจ้างงานเต็มที่ (YE < YF)

14 การพิจารณาช่วงห่างการเฟ้อและช่วงห่างการฝืดจากกราฟ
AD ช่วงห่างการเฟ้อ AD2 E2 ADf Ef AD1 E1 ช่วงห่างการฝืด Y1 Yf Y2


ดาวน์โหลด ppt Topic 10 ระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพ และการเปลี่ยนแปลง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google