การเงินและการธนาคาร.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
SET Listing Requirements 2005
Advertisements

สหกรณ์ออมทรัพย์ โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ อุบล จำกัด
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา Personal Income Tax
สถาบันคุ้มครองเงินฝาก 21 สิงหาคม 2551
บทที่ 4 อุปทานของเงิน (Money Supply) และประเด็นสำคัญอื่น ๆ
กระชุ่มกระชวย ( ) ทศวรรษแห่งการเติบโตสูงสุด :
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
บทที่ 7 ตลาดการเงินและสถาบันการเงิน
เกมธุรกิจแห่งชาติ ตัวชี้วัด น้ำหนัก 1 ยอดขาย 10% 2 กำไร 40% 3 ROE 15%
Advance Excel.
สถาบันการเงิน.
สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัย
การบูรณาการของนโยบายการคลัง ( )
การกำหนดนโยบายการคลังและบูรณาการของ 4 หน่วยงานหลัก ( )
การวางแผน ธุรกิจ เป็นกระบวนการ บริหารจัดการทาง การเงินที่สำคัญของ คณะกรรมการกองทุน หมู่บ้าน.
Statement of Cash Flows
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
Revision Problems.
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ที่มาของโครงการ เจ้าหนี้การค้าในประเทศมากกว่า 5 พันราย ซึ่งเดิมจ่ายชำระด้วย CHQ และเปลี่ยนเป็นการจ่ายชำระหนี้เงินโอน 1,970 ราย พบปัญหา เจ้าหนี้เงินโอนสอบถามรายการจ่ายชำระหนี้
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
บทที่ 1 อัตราส่วน.
ภาษีธุรกิจเฉพาะ.
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
บทที่ 5 การจัดหาเงินทุนระยะสั้นและระยะปานกลาง Short- Term and Intermediate-Term Financing.
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
การบริโภค การออม และการลงทุน
ธุรกิจบ้านจัดสรรกับการเลือกซื้อของผู้บริโภค
นางสาววรนุช ชัยกิตติภรณ์ หัวหน้าสนง.ตรวจบัญชีสหกรณ์ชลบุรี
การเข้าร่วมประชุมกับ สหกรณ์ แชร์ล๊อตเตอรี่ สหกรณ์ออม ทรัพย์ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ สาเหตุ : สหกรณ์ออมทรัพย์มีสภาพ คล่องมาก.
รายรับและรายจ่ายของรัฐ
1 ความเปลี่ยนแปลง ในภาคการเงินและในการ อภิบาลบริษัท ดร. อัมมาร สยามวาลา 9 ธันวาคม 2549.
มาตรการภาครัฐในการสนับสนุน การวิจัยและพัฒนา (R&D)
บทที่ 1 หลักการและหน้าที่ทางการเงิน
บทที่ 4 ผลตอบแทนและความเสี่ยง (1)
บทที่ 3 คณิตศาสตร์การเงิน (3)
 2005 Thailand Securities Institute (TSI), The Stock Exchange of Thailand 1.
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
การรับรองงบการเงินของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ปีงบประมาณ 2518 – 2552
รัฐวิสาหกิจไทย: อดีต ปัจจุบัน และอนาคต
1 รายงานสถานะกองทุน และผลการดำเนินงาน กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว.
บทที่ 2 การจัดหาเงินทุน (Financing)
บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
บทที่ 7 เงินสดและหลักทรัพย์ตามความต้องการของตลาด (Cash and Marketable Securities Management) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
บทที่ 12 นโยบายเงินปันผล ( Dividend Policy )
เงินฝากมี 3 ประเภท คือ เงินฝากออมทรัพย์ทั่วไป เงินฝากออมทรัพย์พิเศษ
5.3 การใช้จ่ายของรัฐ การเก็บภาษี และนโยบายเศรษฐกิจ
ตัวอย่างการพยากรณ์ยอดขาย
บทที่ 4 การดำรงเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์
หน้าที่ของกรมธรรม์ประกันชีวิต (สัญญาหลัก)
มาตรฐานสากลของระบบคุ้มครองเงินฝาก
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
ดุลการชำระเงิน Balance of payment
1.
หน่วยที่ 4 การเงิน การธนาคาร และนโยบายการเงิน
แหล่งที่มาและการใช้ไปของเงินทุนในสหกรณ์ เครดิตยูเนี่ยน
หน่วยที่ 3 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป
บทที่ 4 การกำหนดขึ้นเป็นรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
บทที่ 2 มาตรฐานเงินตรา SIRIPORN SOMKHUMPA.
บทที่ 1 บทนำ SIRIPONR SOMKHUMPA.
Creative Accounting
บทที่ 3 งบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันซื้อหุ้น
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
บทที่ 4 ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ
สถาบันการเงิน และนโยบายการเงิน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเงินและการธนาคาร

ความหมายและวิวัฒนาการของเงิน

ระบบการแลกเปลี่ยนสิ่งของต่อสิ่งของ (Barter System) ระบบที่มีการใช้เงินเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน (Money Economy) ระบบที่ใช้เครดิตเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน (Credit Economy)

เงินกษาปณ์ที่มีค่าเต็มตัว (Full - bodied Coins) Money Economy สิ่งของจำเป็น เงินโลหะ เงินกษาปณ์ที่มีค่าเต็มตัว (Full - bodied Coins) เงินกษาปณ์ที่มีค่าไม่เต็มตัว (Token Money) เงินกระดาษหรือธนบัตร เงินที่มีโลหะหรือเหรียญมีมูลค่าเต็มตัวสำรองอยู่ ร้อยเปอร์เซ็นต์ เงินที่แลกโลหะคืนไม่ได้ (Fiat Money) (ธนบัตรที่ชำระหนี้ได้ตามกฏหมาย (Legal Tender))

เงิน สิ่งที่เป็นที่ยอมรับทั่วไปในสังคมว่าเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน โดยมีการกำหนดค่าขึ้นเป็นหน่วยเงินตราและพยายามรักษาค่าให้คงที่อยู่เสมอ

เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน (A medium of exchange) หน้าที่ของเงิน เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน (A medium of exchange) คุณลักษณะของเงินที่สำคัญ เป็นที่ยอมรับกันทั่วไป มีค่าทางเศรษฐกิจสูงกว่ามากเมื่อเทียบกับมูลค่าของวัสดุที่ใช้ทำเงิน สามารถแบ่งออกเป็นหน่วยย่อย ๆ ได้ วัสดุที่ทำเงินเป็นของหายากหรือยากที่จะทำการปลอมแปลง นำติดตัวไปได้ง่าย

เป็นมาตรฐานในการวัดค่า (A standard of value) หน้าที่ของเงิน (ต่อ) เป็นมาตรฐานในการวัดค่า (A standard of value) ประโยชน์ของเงินที่เป็นมาตรฐานในการวัดค่า สามารถกำหนดราคาสินค้าทุกชนิดเป็นหน่วยเดียวกัน สามารถเปรียบเทียบมูลค่าสิ่งต่างๆ ได้ง่ายและสะดวก เป็นประโยชน์ในการทำบัญชี

เป็นมาตรฐานในการชำระหนี้ในอนาคต (A standard of defered payment) หน้าที่ของเงิน (ต่อ) เป็นมาตรฐานในการชำระหนี้ในอนาคต (A standard of defered payment) เป็นเครื่องรักษามูลค่า (A store of value) เงินจะต้องมีค่าค่อนข้างคงที่

ปริมาณเงิน หรืออุปทานของเงิน (Supply of money) ปริมาณเงินที่ประเทศมีอยู่ในขณะใดขณะหนึ่ง

ปริมาณเงินตามความหมายอย่างแคบ (M1) ปริมาณของทรัพย์สินทางการเงินที่ใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน M1 = เหรียญกษาปณ์ + ธนบัตร + เงินฝากกระแสรายวัน (ไม่รวมธนาคาร) (ไม่รวมธนาคารกลาง และกระทรวงการคลัง)

ปริมาณเงินตามความหมายอย่างกว้าง (M2) M2 = M1 + เงินฝากประจำและเงินฝากออมทรัพย์ของเอกชน (รวมรัฐวิสาหกิจ) ซึ่งฝากไว้ที่ธนาคารพาณิชย์

ปริมาณเงินในประเทศไทย ปี 2545 หน่วย : พันล้านบาท รายการ ตุลาคม พฤศจิกายน 1. เงินสด 441.3 452.5 1.1 ในมือเอกชนและครัวเรือน 436.3 447.7 1.2 ในมือสถาบันการเงินอื่น 5.0 4.8 2. เงินฝากกระแสรายวัน 160.7 164.2 2.1 ของเอกชนและครัวเรือน 151.0 154.7 2.2 ของสถาบันการเงินอื่น 9.7 9.5 ปริมาณเงิน M1 (1 + 2) 602.0 616.9 3. เงินฝากที่มีสภาพคล่องสูงกึ่งเงินสด 4,692.8 4,749.4 3.1 เงินฝากประจำ 3,028.3 3,035.0 3.2 เงินรับฝากออมทรัพย์ 1,612.8 1,660.0 3.3 เงินฝากอื่นๆ 51.7 54.4 ปริมาณเงิน M2 (M1 + 3) 5,294.9 5,366.3 ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย

ปริมาณเงินตามความหมายอย่างกว้างมาก (M3) ปริมาณเงิน M2a M2a = M2 + ตั๋วสัญญาใช้เงิน ปริมาณเงินตามความหมายอย่างกว้างมาก (M3) M3 = M2 + เงินฝากทุกประเภทกับสถาบันการเงินเฉพาะกิจ + ตั๋วสัญญาใช้เงินของบริษัทเงินทุนที่ถือโดยภาคเอกชน

ปริมาณเงินในประเทศไทย ปี 2545 หน่วย : พันล้านบาท รายการ กันยายน ตุลาคม 1. เงินสด 437.3 441.3 2. เงินฝากเผื่อเรียก 156.5 154.1 3. เงินรับฝากออมทรัพย์ ประจำ และ เงินรับฝากอื่น 4,647.1 4,682.6 4. ตั๋วสัญญาใช้เงิน 170.1 171.6 ปริมาณเงิน M2a (1 + 2 + 3 + 4) 5,411.2 5,449.6 ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย

ปริมาณเงินในประเทศไทย ปี 2545 หน่วย : พันล้านบาท รายการ กันยายน ตุลาคม 1. เงินสด 431.2 435.1 2. เงินฝากเผื่อเรียก 155.2 152.3 3. เงินรับฝากออมทรัพย์ ประจำ และ เงินรับฝากอื่น 5,461.9 5,504.6 4. ตั๋วสัญญาใช้เงิน 170.1 171.6 ปริมาณเงิน M3 (1 + 2 + 3 + 4) 6,218.6 6,263.7 ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย

ตลาดการเงิน (Financial Market) ตลาดที่อำนวยความสะดวกในการโอนเงินจากหน่วยเศรษฐกิจที่มีเงินออมไปยังหน่วยเศรษฐกิจที่ต้องการเงินออมเพื่อนำไปลงทุน ตลาดการเงินในระบบ / ตลาดการเงินนอกระบบ ตลาดเงิน / ตลาดทุน

ธนาคารพาณิชย์ และการสร้างเงินฝาก

ธนาคารพาณิชย์ สถาบันที่ตั้งขึ้นเพื่อประกอบธุรกิจโดยหวังกำไร กำไร  ดอกเบี้ยเงินกู้ - ดอกเบี้ยเงินฝาก

เงินสดสำรองหรือ สำรองเงินฝาก (Cash Reserve) เงินที่ธนาคารพาณิชย์เก็บสำรองไว้ที่ธนาคาร เผื่อไว้สำหรับกรณีที่ลูกค้ามาถอนเงินหรือสั่งให้ธนาคารจ่ายเงินตามเช็ค

เงินสดสำรองตามกฏหมาย (Legal Reserve Requirement) จำนวนเงินสดสำรองอย่างต่ำที่สุดที่ธนาคารกลางกำหนดให้ธนาคารพาณิชย์ต้องสำรองไว้ โดยจะกำหนดว่าเป็นอัตราเท่าใด

อัตราเงินสดสำรองตามกฏหมาย (R) = 20% ถ้ามีเงินฝาก 100 บาท ธนาคารจะเก็บสำรองเงินสดไว้ 20 บาท สามารถนำไปให้กู้ได้ 80 บาท (สำรองส่วนเกิน)

เงินสดสำรองส่วนเกิน (Excess Reserve) เงินสดที่เหลือจากการสำรองตามกฏหมายซึ่งธนาคารพาณิชย์สามารถนำไปให้กู้ยืมได้ ซึ่งเงินสดสำรองส่วนเกินหรือเงินที่ให้บุคคลกู้ยืมนี้จะทำให้ปริมาณเงินฝากรวมขยายตัวเพิ่มขึ้น หรือเกิดการสร้างเงินฝากเกิดขึ้น

การสร้างเงินฝาก ของระบบธนาคารพาณิชย์

นาย ก นำเงินไปฝากธนาคาร A 100 บาท เงินฝาก ขั้นแรก กำหนดให้ R = 10% ธนาคาร A สำรองเงินสด 10 บาท ให้กู้ 90 บาท

กำหนด R = 10% 90 10 100 A เงินให้กู้ (สำรองส่วนเกิน) เงินสดสำรองตามกฏหมาย เงินฝากที่เพิ่มขึ้น ธนาคาร กำหนด R = 10%

นาย ก นำเงินไปฝากธนาคาร A 100 บาท กำหนดให้ R = 10% เปิดเป็นบัญชีเงินฝาก (90 บาท) นาย ข จ่ายค่าวัตถุดิบในรูปเช็ค (90 บาท) ให้นาย ค เงินฝาก ขั้นที่สอง

นาย ง จ่ายค่าวัตถุดิบในรูปเช็ค (81 บาท) ให้นาย จ นาย ค นำเช็คไปฝากธนาคาร B 90 บาท กำหนดให้ R = 10% ธนาคาร B สำรองเงินสด 9 บาท ให้กู้ 81 บาท นาย ง มาขอกู้เงินธนาคาร B 81 บาท เพื่อจ่ายค่าวัตถุดิบ เปิดเป็นบัญชีเงินฝาก นาย ง จ่ายค่าวัตถุดิบในรูปเช็ค (81 บาท) ให้นาย จ

900 100 1,000 รวม ... 65.61 7.29 72.9 D 8.1 81 C 9 90 B 10 A เงินให้กู้ (สำรองส่วนเกิน) เงินสดสำรองตามกฏหมาย เงินฝากที่เพิ่มขึ้น ธนาคาร กำหนดให้ R = 10% 1 x 100 0.9 x 100 (0.9) 2 x 100 (0.9) 3 x 100

1,000 = [1 x 100] + [0.9 x 100] + [(0.9)2 x 100] + [(0.9)3 x 100] + ... (1 + 0.9 + 0.92 + 0.93 + ... + 0.9n ) x 100 1 1 – 0.9 x 100 0.1

D คือ ปริมาณเงินฝากทั้งหมดที่เกิดขึ้น P คือ เงินฝากขั้นแรก 1 R x P 0.1 x 100 1,000 = D คือ ปริมาณเงินฝากทั้งหมดที่เกิดขึ้น P คือ เงินฝากขั้นแรก R คือ อัตราเงินสดสำรองตามกฏหมาย

เงินฝากขั้นแรก 100 บาท ทำให้ปริมาณเงินฝากรวมทั้งหมดเป็น 1,000 บาท เงินฝากเพิ่มขึ้น 10 เท่าของเงินฝากขั้นแรก ตัวทวีของการสร้างเงินฝาก

ตัวทวีของการสร้างเงินฝาก (m) เงินฝากเพิ่มขึ้น 10 เท่าของเงินฝากขั้นแรก D = 1 R x P 0.1 x 100 1,000 = = 10 x 100 = m x P m =

เงื่อนไขหรือข้อสมมติของการสร้างเงินฝากของธนาคารพาณิชย์ ไม่มีการถอนเงินฝากออกจากธนาคาร ระบบธนาคารจะต้องไม่ดำรงเงินสดสำรองไว้เกินกว่าที่กฏหมายกำหนด ระบบธนาคารจะต้องให้กู้ยืมเท่ากับเงินสดสำรองส่วนเกินทั้งสิ้นที่มีอยู่ อัตราเงินสดสำรองตามกฏหมายต้องต่ำกว่า ร้อยละ 100

การทำลายเงินฝาก เมื่อมีการถอนเงิน นาย ก ถอนเงิน 100 บาท ถ้า R = 10% ปริมาณเงินจะลดลงทั้งหมด 1,000 บาท

ปริมาณเงินจะเพิ่มขึ้นหรือลดลงมากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับ ฝากเงิน ปริมาณเงินเพิ่ม ถอนเงิน ปริมาณเงินลด การฝากเงิน / การถอนเงิน

อัตราเงินสดสำรองตามกฎหมาย (R) D = 1 R x P = m x P ถ้า R D สำรองส่วนเกิน (เงินให้กู้) ถ้ามีเงินให้กู้

นโยบายการเงิน

นโยบายการเงิน นโยบายของรัฐบาลซึ่งดำเนินการผ่านธนาคารกลางในการควบคุมปริมาณเงินและ เครดิตของของประเทศ ให้มีขนาดพอเพียงกับความต้องการทางเศรษฐกิจ ไม่ให้เกิดปัญหาทางการเงิน อันจะเป็นอุปสรรคต่อ การขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ

ธนาคารกลาง สถาบันการเงินที่ส่วนมากเป็นของรัฐ ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางด้านสินเชื่อ เครดิต และระบบการเงินของประเทศ

หน้าที่สำคัญของธนาคารกลาง ออกและพิมพ์ธนบัตร เก็บรักษาทุนสำรองระหว่างประเทศ เป็นนายธนาคารของธนาคารพาณิชย์ เป็นนายธนาคารของรัฐบาล ควบคุมและตรวจสอบสถาบันการเงินอื่นๆ รักษาเสถียรภาพทางการเงิน ควบคุมปริมาณเงินและเครดิต

ข้อแตกต่างระหว่างธนาคารกลางกับธนาคารพาณิชย์ การหากำไร ลูกค้าของธนาคาร

ประเภทของนโยบายการเงิน นโยบายการเงินแบบเข้มงวด (Restrictive monetary policy) ทำให้ปริมาณเงินเล็กลง นโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย (Easy or expansionary monetary policy) ทำให้ปริมาณเงินมีขนาดใหญ่ขึ้น

นโยบายการเงิน แบบเข้มงวด ปริมาณเงินน้อย ปริมาณเงินมาก ใช้จ่ายมาก GDP มาก ลูกโป่งตึงมาก ลดปริมาณเงิน นโยบายการเงิน แบบเข้มงวด ปริมาณเงินน้อย ใช้จ่ายน้อย GDP น้อย ลูกโป่งแฟบ เพิ่มปริมาณเงิน นโยบายการเงิน แบบผ่อนคลาย

เครื่องมือของนโยบายการเงิน การควบคุมทางปริมาณหรือโดยทั่วไป (Quantitative or general control) การควบคุมทางคุณภาพหรือการควบคุมเฉพาะอย่าง (Quanlitative or selective control) การชักชวนให้ปฏิบัติตาม (Moral Suasion)

1. การควบคุมทางปริมาณหรือโดยทั่วไป การซื้อขายหลักทรัพย์โดยเปิดเผย (Open-market operations) การเปลี่ยนแปลงอัตราเงินสำรองตามกฏหมาย (Changing reserve requirement) การเปลี่ยนแปลงอัตรารับช่วงซื้อลด (Changing the rediscount rate) การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยมาตรฐาน (Changing the bank rate)

1. Open-market operations ธนาคารกลางต้องการเพิ่มปริมาณเงิน ธ.กลางรับซื้อหลักทรัพย์ ชำระค่าซื้อหลักทรัพย์ด้วยเช็ค ผู้ขายนำเงินไปฝากธนาคารพาณิชย์ การสร้างเงินฝาก ปริมาณเงินในระบบเพิ่มขึ้น ตามค่าตัวทวี

2. Changing reserve requirement ใหม่ R = 10% สำรองส่วนเกิน เพิ่มขึ้น ธนาคารพาณิชย์ ให้กู้ยืมเพิ่มขึ้น ปริมาณเงิน ในระบบเพิ่มขึ้น R = 25% สำรองส่วนเกิน ลดลง ธนาคารพาณิชย์ ให้กู้ยืมลดลง ปริมาณเงิน ในระบบลดลง

2. Changing reserve requirement (ต่อ) เดิม R = 20% และ P = 100 บาท ใหม่ R = 10% R = 25% D = 1 R x P = 0.2 x 100 = 500 0.1 = 1,000 (D เพิ่มขึ้น) 0.25 = 400 (D ลดลง)

3. Changing the rediscount rate นาย ก. มีตั๋วเงินมูลค่า 100 บาท นาย ก. ได้เงิน 90 บาท ธ.พาณิชย์คิด อัตราส่วนลด (Discount Rate) 10% ธ.พาณิชย์ขายตั๋วเงินให้ ธ.กลาง นาย ก. ขายตั๋วเงินให้ ธ.พาณิชย์ ธ.กลางคิด อัตรารับช่วงซื้อลด (Rediscount Rate) 5% ธ.พาณิชย์ได้เงิน 95 บาท ธ.พาณิชย์นำเงินไปปล่อยกู้ได้

3. Changing the rediscount rate (ต่อ) > ส่วนต่าง คือ กำไรของธนาคารพาณิชย์

3. Changing the rediscount rate (ต่อ) เดิม Rediscount Rate = 5% , Discount Rate = 10% ใหม่ Rediscount Rate = 8% (เพิ่มขึ้น) ธ.พาณิชย์ลดการขาย ตั๋วเงินให้ ธ.กลาง ปริมาณเงินให้กู้ลดลง D ลดลง ธ.พาณิชย์เพิ่ม Discount Rate ลูกค้านำตั๋วเงินมาขายลดลง

อัตราดอกเบี้ยมาตรฐาน (bank rate) 4. Changing the bank rate อัตราดอกเบี้ยมาตรฐาน (bank rate) อัตราดอกเบี้ยที่ธนาคารกลางคิดจาก ธนาคารพาณิชย์

4. Changing the bank rate (ต่อ) ธ.กลางลดอัตราดอกเบี้ยมาตรฐาน ธ.พาณิชย์กู้ได้มากขึ้น ธ.พาณิชย์ปล่อยกู้หรือให้สินเชื่อมากขึ้น D เพิ่มขึ้น ขึ้นอยู่กับการตอบสนองของธนาคารพาณิชย์

2. การควบคุมทางคุณภาพหรือควบคุมเฉพาะอย่าง การควบคุมเครดิตเพื่อการบริโภค การควบคุมเครดิตเพื่อการเก็งกำไร ในการซื้อขายหลักทรัพย์

1. การควบคุมเครดิตเพื่อการบริโภค การชำระค่าสินค้า เงินดาวน์ เงินผ่อนรายงวด ส่งเสริมการใช้จ่าย เพื่อการบริโภค

1. การควบคุมเครดิตเพื่อการบริโภค (ต่อ) ลดปริมาณเงิน เพิ่มเงินดาวน์ ลดจำนวนงวดในการผ่อน (ใช้เงินมากขึ้นในการแต่ละงวด) + ซื้อสินค้าลดลง การกู้ยืมลดลง D ลดลง

2. การควบคุมเครดิตเพื่อการเก็งกำไร ในการซื้อขายหลักทรัพย์ Margin Margin = 40% ชำระเงินสด 40% ของราคาหลักทรัพย์ ที่เหลือ 60% กู้จากบริษัทนายหน้า โดยเอาหลักทรัพย์นั้นค้ำประกัน

2. การควบคุมเครดิตเพื่อการเก็งกำไรในการซื้อขายหลักทรัพย์ (ต่อ) ลดปริมาณเงิน ธ.กลางกำหนดให้ตลาดหลักทรัพย์เพิ่ม Margin ซื้อหุ้นลดลง กู้เงินลดลง D ลดลง

3. การชักชวนธนาคารพาณิชย์ให้ปฏิบัติตาม

สรุปนโยบายการเงิน เศรษฐกิจขยายตัวมาก เศรษฐกิจตกต่ำมาก นโยบายการเงิน : ลดปริมาณเงิน : แบบเข้มงวด นโยบายการเงิน : เพิ่มปริมาณเงิน : แบบผ่อนคลาย เชิงปริมาณ 1. ธ.กลางขายหลักทรัพย์ 1. ธ.กลางรับซื้อหลักทรัพย์ 2. เพิ่มอัตราเงินสดสำรอง ตามกฏหมาย 2. ลดอัตราเงินสดสำรอง ตามกฏหมาย 3. เพิ่มอัตรารับช่วงซื้อลด 3. ลดอัตรารับช่วงซื้อลด 4. เพิ่มอัตราดอกเบี้ยมาตรฐาน 4. ลดอัตราดอกเบี้ยมาตรฐาน เชิงคุณภาพ 1. เพิ่มเงินดาวน์ + ลดปีผ่อน 1. ลดเงินดาวน์ + เพิ่มปีผ่อน 2. เพิ่ม Margin 2. ลด Margin