การคลังสาธารณะ
การคลังสาธารณะ การศึกษาเกี่ยวกับรายรับและรายจ่ายของรัฐบาล
งบประมาณแผ่นดิน งบประมาณเกี่ยวกับรายรับ - รายจ่ายของรัฐบาล ในระยะเวลา 1 ปี
ปีงบประมาณ งบประมาณปี 2546 1 ตุลาคม 2545 ถึง 30 กันยายน 2546
ประเภทของงบประมาณ งบประมาณสมดุล (Balance Budget) : งบประมาณที่เป็นรายได้ของรัฐรวมกันแล้ว เท่ากับรายจ่ายของรัฐพอดี งบประมาณไม่สมดุล (Unbalance Budget) : งบประมาณที่เป็นรายได้ของรัฐรวมกันแล้ว ไม่เท่ากับรายจ่ายของรัฐพอดี
งบประมาณไม่สมดุล (Unbalance Budget) ถ้ารายได้ > รายจ่าย เรียกว่า "งบประมาณเกินดุล" ถ้ารายได้ < รายจ่าย เรียกว่า "งบประมาณขาดดุล"
ดุลงบประมาณของประเทศไทย หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ รายได้ รายจ่าย ดุลเงินงบประมาณ 2538 760,137.7 670,552.5 89,585.2 2539 850,176.8 777,245.6 72,931.2 2540 844,194.9 910,314.7 -66,119.8 2541 727,392.6 848,029.0 -120,636.4 2542 709,926.6 840,185.8 -130,259.2 ที่มา : กรมบัญชีกลาง
งบประมาณรายรับ : การประมาณการของรัฐบาลว่าจะมีรายรับ ทั้งหมดเท่าใดในระยะเวลา 1 ปีงบประมาณ งบประมาณรายรับประกอบด้วย รายได้ เงินกู้ เงินคงคลัง
รายได้ รายได้จากภาษีอากร รายได้จากการขายสิ่งของและบริการ รายได้จากรัฐพาณิชย์ รายได้อื่นๆ
เงินกู้ เมื่อรายได้ไม่เพียงพอกับรายจ่าย เงินที่รัฐบาลกู้มาใช้จ่ายจากแหล่งต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกประเทศ หนี้สาธารณะ หนี้ภายในประเทศ, หนี้ภายนอกประเทศ หนี้ระยะสั้น, ระยะปานกลาง, ระยะยาว
หนี้สาธารณะคงค้าง หน่วย : พันล้านบาท ส.ค. 2545 ก.ย. 2545 % ของ GDP ก.ย. 2545 หนี้รัฐบาลกู้โดยตรง 1,362.0 25.59 1,670.5 31.39 - หนี้ต่างประเทศ 408.3 409.6 - หนี้ในประเทศ 953.6 1,260.9
หนี้สาธารณะคงค้าง (ต่อ) หน่วย : พันล้านบาท ส.ค. 2545 ก.ย. 2545 % ของ GDP ก.ย. 2545 หนี้ของรัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิน 932.1 17.51 907.1 17.04 - หนี้ที่รัฐบาลค้ำประกัน 796.8 771.9 - หนี้ต่างประเทศ 373.0 351.3 - หนี้ในประเทศ 423.8 420.5 - หนี้ที่รัฐบาลไม่ค้ำประกัน 135.2 135.1 62.9 63.2 72.3 71.9
หนี้สาธารณะคงค้าง (ต่อ) หน่วย : พันล้านบาท ปี ส.ค. 2545 ก.ย. 2545 % ของ GDP ก.ย. 2545 หนี้ของกองทุนเพื่อ การฟื้นฟูฯ 651.9 12.25 357.2 6.71 - หนี้ที่รัฐบาลค้ำประกัน 112.0 - หนี้ที่รัฐบาลไม่ค้ำประกัน 539.9 245.2 รวม 2946.0 55.35 2934.9 55.14 ที่มา : กระทรวงกรคลัง
เงินคงคลัง เงินที่เหลือจากการใช้จ่ายในปีก่อน ๆ ซึ่งรัฐบาล เก็บสะสมไว้และสามารถนำมาใช้ในปีที่มี รายจ่ายสูงกว่ารายได้
ประมาณการรายรับ ประเภทรายรับ ปีงบประมาณ จำนวน ร้อยละ รายได้ รายได้รวม หน่วย : ล้านบาท ประเภทรายรับ ปีงบประมาณ 2545 2546 จำนวน ร้อยละ รายได้ 1. ภาษีอากร 735,370.6 79.7 724,890.3 85.6 2. การขายสิ่งของและบริการ 10,989.8 1.1 19,180.9 1.9 3. รัฐพาณิชย์ 40,908.5 4.0 37,000.0 3.7 4. รายได้อื่น 35,731.1 3.5 43,928.8 4.4 รายได้รวม 823,000.0 80.4 825,000.0 82.5 เงินกู้ 200,000.0 19.6 174,900.0 17.5 รวมรายรับ 1,023,000.0 100.0 999,900.0
รายได้จากภาษีอากร ภาษี คือ เงินที่ประชาชนถูกบังคับเก็บจาก รัฐบาล เพื่อนำไปใช้จ่ายในการดำเนินกิจการของรัฐ แยกได้ 2 ประเภท คือ ภาษีทางตรง ภาษีทางอ้อม
ภาษีทางตรง : ภาษีที่ผู้เสียภาษีตามกฎหมายจะต้องรับภาระภาษีไว้เอง โดยจะผลักไปให้ผู้อื่นได้ยาก : ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม ภาษีที่ดิน ภาษีมรดก เป็นต้น
ภาษีทางอ้อม : ภาษีที่ผู้เสียภาษีตามกฎหมายสามารถผลักภาระภาษีให้ผู้อื่นได้ง่าย : ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีสรรพสามิต ภาษีศุลกากร ภาษีสินค้าขาเข้า – ขาออก เป็นต้น
อัตราภาษี อัตราคงที่ ( proportional rate ) อัตราก้าวหน้า ( progressive rate ) อัตราถอยหลัง ( regressive rate )
อัตราภาษีแบบคงที่ ( proportional rate ) : อัตราภาษีที่จัดเก็บในอัตราเท่ากันโดยไม่คำนึงถึงขนาดของฐานภาษี : ภาษีมูลค่าเพิ่ม
อัตราภาษีแบบก้าวหน้า ( progressive rate ) : อัตราภาษีที่จัดเก็บหลายอัตรา แต่อัตราภาษีจะสูงขึ้นเมื่อฐานภาษีขยายใหญ่ขึ้น : ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
อัตราภาษีแบบถอยหลัง ( regressive rate ) : อัตราภาษีที่จัดเก็บหลายอัตรา แต่อัตราภาษีจะลดลงเมื่อฐานภาษีขยายใหญ่ขึ้น : ภาษีสรรพสามิต
อัตราคงที่ อัตราก้าวหน้า อัตราถอยหลัง รายได้ อัตราภาษี ก. ข. ค. 1,000 5% 2% 15% 2,000 10% 3,000 8% 4,000 อัตราคงที่ อัตราก้าวหน้า อัตราถอยหลัง
หลักในการจัดเก็บภาษี หลักความเป็นธรรม ( equity ) หลักความแน่นอน ( certainty ) หลักความสะดวก ( convenience ) หลักประหยัด ( economy )
วัตถุประสงค์ของการเก็บภาษีอากร เพื่อหารายได้ เพื่อการควบคุม เพื่อการกระจายรายได้ เพื่อการชำระหนี้ของรัฐ เพื่อเป็นเครื่องมือในนโยบายทางธุรกิจ เพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
งบประมาณทางด้านรายจ่าย
เปรียบเทียบงบประมาณรายจ่ายกับ GDP ปีงบประมาณ งบประมาณ รายจ่าย หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ GDP ณ ราคาปัจจุบัน งบประมาณ รายจ่าย % ต่อ GDP 2539 4,622,832.0 843,200.0 18.2 2540 4,740,249.0 925,000.0 19.5 2541 4,628,431.0 830,000.0 17.9 2542 4,632,100.0 825,000.0 17.8 2543 4,904,700.0 860,000.0 17.5 2544 5,098,100.0 910,000.0 2545 5,309,200.0 1,023,000.0 19.3 2546 5,588,800.0 999,900.0 ที่มา : สำนักงบประมาณ
การจำแนกรายจ่ายตามลักษณะงาน : การจำแนกงบประมาณรายจ่ายออกเป็น หมวดหมู่ตามลักษณะงานที่รัฐจะดำเนินการ ในแต่ละด้าน
งบประมาณรายจ่ายจำแนกตามลักษณะงาน หน่วย : ล้านบาท ลักษณะงาน ปีงบประมาณ 2545 2546 จำนวน ร้อยละ การบริหารทั่วไป 186,161.1 18.2 188,298.0 18.9 การบริการชุมชนและสังคม 425,846.8 41.6 420,310.9 41.9 การเศรษฐกิจ 238,763.1 23.4 208,589.1 20.9 อื่นๆ 172,229.0 16.8 182,702.0 18.3 รวม 1,023,000.0 100.0 999,900.0 ที่มา : สำนักงบประมาณ
การจำแนกรายจ่ายตามลักษณะเศรษฐกิจ : การจำแนกงบประมาณรายจ่ายออกเพื่อแสดงให้เห็นผลทางเศรษฐกิจที่จะเกิดขึ้นจากการใช้จ่ายเงินของรัฐบาล : รายจ่ายเพื่อการลงทุน รายจ่ายประจำ และ รายจ่ายในการชำระหนี้เงินกู้
รายจ่ายเพื่อการลงทุน รายจ่ายเพื่อสร้างความเจริญทางเศรษฐกิจ และรายจ่ายเพื่อการได้มาซึ่ง ครุภัณฑ์ ที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง รายจ่ายประจำ รายจ่ายเพื่อการบริหารงานประจำ เงินรายจ่ายประเภทเงินเดือน ค่าจ้าง และรายจ่ายเพื่อสวัสดิการแก่ข้าราชการ
งบประมาณรายจ่ายจำแนกตามลักษณะเศรษฐกิจ หน่วย : ล้านบาท ลักษณะเศรษฐกิจ ปีงบประมาณ 2545 2546 จำนวน ร้อยละ รายจ่ายลงทุน 223,617.0 21.9 211,403.2 21.1 รายจ่ายประจำ 773,714.1 75.6 753,545.0 75.4 รายจ่ายชำระคืนต้นเงินกู้ 25,668.9 2.5 34,951.8 3.5 รวม 1,023,000.0 100.0 999,900.0 ที่มา : สำนักงบประมาณ
การจำแนกรายจ่ายตามส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ : รายจ่ายของหน่วยงานต่างๆ ของประเทศ
งบประมาณรายจ่ายจำแนกตามกระทรวง หน่วย : ล้านบาท กระทรวง ปีงบประมาณ 2545 2546 งบกลาง 183,940.5 148,133.9 สำนักนายกรัฐมนตรี 10,009.0 35,605.4 กระทรวงกลาโหม 78,584.2 79,714.9 กระทรวงการคลัง 114,917.7 116,397.7 กระทรวงการต่างประเทศ 4,378.6 4,660.5 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 63,435.6 62,674.9 กระทรวงคมนาคม 35,810.5 35,032.4 กระทรวงพาณิชย์ 4,700.3 5,250.7 กระทรวงมหาดไทย 109,631.3 82,376.8
งบประมาณรายจ่ายจำแนกตามกระทรวง(ต่อ) หน่วย : ล้านบาท กระทรวง ปีงบประมาณ 2545 2546 กระทรวงยุติธรรม 1,611.0 2,034.7 กระทรวงแรงงานและ สวัสดิการสังคม 16,082.3 16,114.6 กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม 12,095.7 14,043.3 กระทรวงศึกษาธิการ 162,428.0 158,729.8 กระทรวงสาธารณสุข 41,500.6 42,262.7 กระทรวงอุตสาหกรรม 4,213.8 4,246.5 ทบวงมหาวิทยาลัย 32,035.5 32,444.7
งบประมาณรายจ่ายจำแนกตามกระทรวง(ต่อ) หน่วย : ล้านบาท กระทรวง ปีงบประมาณ 2545 2546 ส่วนราชการไม่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง 49,914.3 49,679.4 หน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ 7,972.8 8,256.6 รัฐวิสาหกิจ 37,181.8 42,642.1 กองทุนและเงินทุนหมุนเวียน 54,556.5 59,598.5 รวมทั้งสิ้น 1,023,000.0 999,900.0 ที่มา : สำนักงบประมาณ
การจำแนกรายจ่ายตามแผนงาน : การจำแนกรายจ่ายตามแผนงานด้านต่างๆ ของรัฐบาล
งบประมาณรายจ่ายจำแนกตามแผนงาน หน่วย : ล้านบาท แผนงาน ปีงบประมาณ 2545 2546 จำนวน ร้อยละ การบริหารงานของรัฐ 100,012.3 9.8 106,596.2 10.6 การพัฒนาระบบ การเมือง 3,475.5 0.3 3,658.3 0.4 การสนับสนุนกิจการในพระองค์ 3,749.1 3,923.7 การผลิตและสร้าง รายได้ 138,895.6 13.6 101,702.6 10.2
งบประมาณรายจ่ายจำแนกตามแผนงาน (ต่อ) หน่วย : ล้านบาท แผนงาน ปีงบประมาณ 2545 2546 จำนวน ร้อยละ ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และการพลังงาน 14,670.3 1.4 16,524.7 1.7 ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 8,661.3 0.8 8,043.9 ด้านการขนส่ง 60,618.1 5.9 53,116.4 5.3 การบริหารรายได้รายจ่ายของรัฐ 123,960.6 12.1 134,337.4 13.4 การพัฒนาประชากร 307,767.8 30.1 320,285.0 32.0
งบประมาณรายจ่ายจำแนกตามแผนงาน (ต่อ) หน่วย : ล้านบาท แผนงาน ปีงบประมาณ 2545 2546 จำนวน ร้อยละ การบริการสังคมและชุมชน 109,220.4 10.7 99,839.9 10.0 ด้านความมั่นคง 151,969.0 14.8 151,871.9 15.2 รวม 1,023,000.0 100.0 999,900.0 ที่มา : สำนักงบประมาณ
นโยบายการคลัง นโยบายของรัฐบาลเกี่ยวกับการจัดหารายได้ การใช้จ่าย และการบริหารหนี้สาธารณะ เพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจให้อยู่ในสภาวะที่เหมาะสม รวมทั้งให้มีผลต่อการเร่งรัดความเจริญทางเศรษฐกิจและระดับการจ้างงานของประเทศ รวมไปถึงเพื่อส่งเสริมให้มีการกระจายรายได้ให้เป็นธรรมยิ่งขึ้น
เครื่องมือของนโยบายการคลัง แบบขยายตัว แบบหดตัว เครื่องมือของนโยบายการคลัง แบบตั้งใจ แบบอัตโนมัติ ด้านรายได้ ด้านรายจ่าย ภาษีอัตราก้าวหน้า เงินช่วยเหลือผู้ว่างงาน
ลูกโป่ง GDP แฟบ (เศรษฐกิจตกต่ำ) เป่าลมเข้าไปในลูกโป่ง ลูกโป่ง GDP จะโตขึ้น ลูกโป่งสวยพอดี ลูกโป่ง GDP ตึงมาก (เศรษฐกิจขยายตัวมากเกินไป) ปล่อยลมออกจากลูกโป่ง ลูกโป่ง GDP จะแฟบลง
ลูกโป่ง GDP แฟบ ลูกโป่ง GDP ตึงมาก เป่าลมเข้า ปล่อยลมออก GDP = C + I + G + ( X - M ) ลูกโป่ง GDP ตึงมาก เป่าลมเข้า ปล่อยลมออก GDP = C + I + G + ( X - M )
เครื่องมือของนโยบายการคลัง แบบตั้งใจ
ทางด้านรายได้ หรือการเปลี่ยนแปลงอัตราภาษี ลูกโป่ง GDP แฟบ ลดอัตราภาษี ลูกโป่ง GDP ตึงมาก เพิ่มอัตราภาษี GDP = C + I + G + ( X - M ) GDP = C + I + G + ( X - M )
ลดอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา รายได้สุทธิส่วนบุคคล (DI) เพิ่มขึ้น รายจ่ายเพื่อบริโภคสูงขึ้น (C )
ลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล รายได้กลุ่มธุรกิจสูงขึ้น รายจ่ายเพื่อการลงทุนสูงขึ้น (I )
ลดภาษีการค้า ภาษีมูลค่าเพิ่ม ความต้องการซื้อสินค้าเพิ่มขึ้น รายจ่ายเพื่อการซื้อสินค้าและบริการเพิ่มขึ้น GDP เพิ่มขึ้น
ทางด้านรายจ่าย หรือการเปลี่ยนแปลงปริมาณการใช้จ่ายของรัฐบาล G G ในรายได้ประชาชาติ ไม่รวมเงินโอนและ เงินช่วยเหลือ การใช้จ่ายของรัฐบาลในที่นี้จะรวมถึงเงินโอนและเงินช่วยเหลือ
เพิ่มการใช้จ่ายของรัฐบาล ลูกโป่ง GDP แฟบ เพิ่มการใช้จ่ายของรัฐบาล ลูกโป่ง GDP ตึงมาก GDP = C + I + G + ( X - M ) GDP = C + I + G + ( X - M ) ลดการใช้จ่ายของรัฐบาล
บุคคลมีรายได้มากขึ้น ลูกโป่ง GDP แฟบ เพิ่มรายจ่ายของรัฐในการซื้อสินค้าและบริการ หรือเพิ่มรายจ่ายประเภทเงินโอนและเงินช่วยเหลือ บุคคลมีรายได้มากขึ้น บริโภคมากขึ้น (C ) การลงทุนมากขึ้น ( I ) GDP
รายจ่ายของรัฐจะมีผลมากน้อยขึ้นอยู่กับขนาดและประเภทของการใช้จ่าย รายจ่ายเพื่อซื้อสินค้าและบริการ หรือรายจ่ายเงินโอนและเงินช่วยเหลือ รายจ่ายเพื่อใช้ในโครงการที่เป็นการพัฒนาปัจจัยพื้นฐานทางเศรษฐกิจ รายจ่ายเพื่อซื้ออาวุทยุทโธปกรณ์
เครื่องมือของนโยบายการคลัง แบบอัตโนมัติ
เครื่องมือของนโยบายการคลังแบบอัตโนมัติ ( built in stabilizer ) เครื่องมือที่สามารถปรับตัวเพื่อให้เกิดเสถียรภาพหรือลดความผันผวนได้โดยอัตโนมัติ เครื่องมือที่มีผลทำให้รายได้จากภาษีอากร และรายจ่ายเปลี่ยนแปลงไปเอง โดยรัฐบาลไม่ต้องดำเนินการใดๆ
มาตรการที่สำคัญ การจัดเก็บภาษีในอัตราก้าวหน้า การจ่ายเงินช่วยเหลือผู้ว่างงาน
การจัดเก็บภาษีในอัตราก้าวหน้า รายได้ อัตราภาษี (ร้อยละ) ต่ำกว่า 20,000 10 20,001 - 50,000 40 เดิม รายได้ 30,000 บาท เสียภาษี 2,000 + 4,000 = 6,000 บาท รายได้สุทธิ 24,000 บาท
ลูกโป่ง GDP ตึงมาก (เศรษฐกิจขยายตัวมาก) รายได้ 50,000 บาท (เพิ่มจากเดิม 20,000 บาท) เสียภาษี 2,000 + 12,000 = 14,000 บาท รายได้สุทธิ 36,000 บาท (เพิ่มจากเดิม 12,000 บาท) รายได้ C I Y
ลูกโป่ง GDP แฟบ (เศรษฐกิจตกต่ำ) รายได้ 20,000 บาท (ลดลงจากเดิม 10,000 บาท) เสียภาษี 2,000 บาท รายได้สุทธิ 18,000 บาท (ลดลงจากเดิม 6,000 บาท) รายได้ C I Y
ลูกโป่ง GDP แฟบ (เศรษฐกิจตกต่ำ) การจ่ายเงินช่วยเหลือผู้ว่างงาน รายได้ C I Y ว่างงานมาก ไม่มีการจ่ายเงินช่วยเหลือผู้ว่างงาน มีการจ่ายเงินช่วยเหลือผู้ว่างงาน รัฐจ่ายเงินช่วยเหลือผู้ว่างงานเพิ่มขึ้น (G )
ลูกโป่ง GDP ตึงมาก การจ่ายเงินช่วยเหลือผู้ว่างงาน (ต่อ) รายได้ C I Y ว่างงานน้อย ไม่มีการจ่ายเงินช่วยเหลือผู้ว่างงาน มีการจ่ายเงินช่วยเหลือผู้ว่างงาน รัฐจ่ายเงินช่วยเหลือผู้ว่างงานลดลง (G ) รัฐเก็บเงินประกันการว่างงานเพิ่มขึ้น (รายได้ )
นโยบายการคลัง
นโยบายการคลังแบบขยายตัว (Expansionary fiscal policy) ใช้ในกรณีเศรษฐกิจตกต่ำ เครื่องมือ : เพิ่มรายจ่าย และ ลดอัตราภาษี งบประมาณรายได้ < งบประมาณรายจ่าย การใช้งบประมาณขาดดุล
นโยบายการคลังแบบหดตัว (Contractionary fiscal policy) ใช้ในกรณีเศรษฐกิจมีการขยายตัวมากเกินไป เครื่องมือ : ลดรายจ่าย และ เพิ่มอัตราภาษี งบประมาณรายได้ > งบประมาณรายจ่าย การใช้งบประมาณเกินดุล
นโยบายการคลังแบบหดตัว นโยบายการคลังแบบขยายตัว ลดรายจ่าย เศรษฐกิจขยายตัวมาก เศรษฐกิจตกต่ำ นโยบายการคลังแบบหดตัว นโยบายการคลังแบบขยายตัว ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ (ภาษี) เพิ่มรายจ่าย ลดรายได้ (ภาษี) งบประมาณแบบเกินดุล งบประมาณแบบขาดดุล