CHAP5: Database Management

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
BC421 File and Database Lab
Advertisements

HO Session 13: Database System Concept & Tools
Microsoft Access อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย Microsoft Access.
ปัญหาของระบบแฟ้มข้อมูล ( File System)
ทำความรู้จักและใช้งาน
Distributed Administration
Data Warehouse (คลังข้อมูล)
Chapter 1 Introduction to Information Technology
บทที่ 2 ระบบฐานข้อมูล Database System BC424 Information Technology.
Create Table in MS Access
Data Structure โครงสร้างข้อมูล.
ภาษาคอมพิวเตอร์ กฎเกณฑ์เกี่ยวกับคำศัพท์ ไวยากรณ์ และ หลักภาษาในการเขียนคำสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งให้กับเราได้ มีหลากหลายชนิดต่างๆ กัน.
ประเภทของระบบสารสนเทศในองค์กร
อ.กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
การเขียน STORYBOARD STORYBOARD.
ระบบสารสนเทศประมวณผลรายการธุรกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโปรแกรม Microsoft Office Access 2003
ภาษามาตรฐานสำหรับนิยามข้อมูล และการใช้ข้อมูล
สุนีย์ พงษ์พินิจภิญโญ
การขุดค้นข้อมูล (Data Mining)
ระบบฐานข้อมูล ข้อมูลมีความสำคัญมากต่อองค์การ ดังนั้นจะต้องมีการจัดเก็บที่เป็นระบบ สามารถค้นหาได้ง่าย เพื่อที่นำมาใช้ให้ทันเวลา ในการตัดสินใจของผู้บริหาร.
ลักษณะระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
Surachai Wachirahatthapong
MySQL.
ภาษามาตรฐานสำหรับนิยามข้อมูล และการใช้ข้อมูล
การสร้างตาราง (Table)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
โปรแกรม Microsoft Access
Chapter 1 ระบบฐานข้อมูล (Database System)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
บทที่ 11 ระบบสารสนเทศ.
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ความปลอดภัยของฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานในการ พัฒนาระบบ
คือระบบที่รวบรวมข้อมูลไว้ในที่เดียวกัน ซึ่ง ประกอบไปด้วยแฟ้มข้อมูล (File) ระเบียน (Record) และ เขตข้อมูล (Field) และถูกจัดการด้วยระบบ เดียวกัน โปรแกรมคอมพิวเตอร์จะเข้าไปดึงข้อมูล.
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
Charter 8 1 Chapter 8 การจัดการฐานข้อมูล Database Management.
เรื่องข้อมูลและสาระสนเทศ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
บทนำเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
มัลติมีเดีย ประกอบประมวลสาระ
เรื่องการออกแบบฐานข้อมูล
เรื่อง การสร้างตาราง (Table)
Geographic Information System
(Transaction Processing Systems)
ระบบฐานข้อมูล (Database Management System)
ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล
โปรแกรม Microsoft Access
ตัวอย่าง ระบบคลังหนังสือ (Book Stock System)
การจัดการฐานข้อมูล.
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
ง การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 ครูสหรัฐ บัวทอง
CHAPTER 12 SQL.
หน่วยที่ 1 รู้จักกับฐานข้อมูล
Data analysis for the making a decision with Business Intelligence
ซอฟต์แวร์ที่บริหารจัดการข้อมูลแบบกระจาย
MS Access (basic) By Kanok Khamhun. ฐานข้อมูล (Database) Database ( ฐานข้อมูล ) คือที่ เก็บรวบรวมข้อมูลที่มี ความสัมพันธ์ไว้ด้วยกัน ขึ้นอยู่ กับวัตถุประสงค์ของการเก็บ.
Access 2003 คืออะไร Access 2003 เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการ จัดการกับฐานข้อมูล ซึ่งจะช่วยให้เรา จัดการกับข้อมูลปริมาณมากๆ ได้ ง่ายดาย เช่นการจัดเก็บข้อมูล,
บทที่ 12 ฐานข้อมูล.
Chapter 1 : Introduction to Database System
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
ระบบฐานข้อมูล.
Microsoft Access Lesson 2 1 Microsoft Access (Lesson 2) อาจารย์อุทัย เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา.
ความหมายและบทบาทของ เทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
Microsoft Access การใช้งานโปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูล
บทที่ 4 ฐานข้อมูล.
โครงสร้างข้อมูล( Data Structure)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

CHAP5: Database Management วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน (SG003) CHAP5: Database Management Principles of Information Technology อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร e-mail: monarin@gmail.com http://15701105.mypage.utcc.ac.th

อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร e-mail: monarin@gmail.com วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน (SG003) Contents Databases, Data, & Information The hierarchy of data (ลำดับชั้นของข้อมูล) Maintaining data (การดูแลรักษาข้อมูล) File processing Vs. Databases (ระบบข้อมูลแบบไฟล์และแบบฐานข้อมูล) Database Management Systems Relational, Object-Oriented, & Multidimensional Databases Web Databases อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร e-mail: monarin@gmail.com http://15701105.mypage.utcc.ac.th

Databases, Data, & Information วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน (SG003) Databases, Data, & Information Database ที่จัดเก็บข้อมูลเพื่อให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงและนำข้อมูลไปใช้ได้ง่าย Data ข้อมูลที่อยู่ในรูปของข้อความ, ตัวเลข, รูปภาพ, เสียง และวีดีโอ Information ข้อมูล (data) ที่ถูกประมวลผลให้มีโครงสร้างและมีความหมายสามารถนำไปใช้ประโยชน์ต่อไปได้ อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร e-mail: monarin@gmail.com http://15701105.mypage.utcc.ac.th

Databases, Data, & Information วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน (SG003) Databases, Data, & Information Step 2. The computer extracts the member data from disk. receipt processing Step 1. The member data, including a photograph, is entered and stored on the hard disk. data stored on disk Step 3. The receipt is created and printed. อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร e-mail: monarin@gmail.com http://15701105.mypage.utcc.ac.th

อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร e-mail: monarin@gmail.com วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน (SG003) Databases software หรือ Database management system (DBMS) เนื่องจากข้อมูลที่เราต้องบริหารมักมีปริมาณ และมีความซ้บซ้อนมาก DBMS จะทำหน้าที่ช่วยให้เราสามารถบริหารข้อมูลเช่น การเพิ่ม, แก้ไข, ลบ หรือการทำรายงาน เป็นไปได้ง่ายขึ้น อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร e-mail: monarin@gmail.com http://15701105.mypage.utcc.ac.th

ทำไมจึงต้องมีการบริหารข้อมูล? (database management) วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน (SG003) ทำไมจึงต้องมีการบริหารข้อมูล? (database management) เพราะการทำงานในองค์กรหรือในบริษัทปัจจุบันขึ้นอยู่กับการตัดสินใจทางธุรกิจเป็นสำคัญ โดยการตัดสินใจนี้จะทำได้ดีหรือไม่ขึ้นอยู่กับ ความครบถ้วนและสมบูรณ์ของข้อมูล (data integrity) คุณภาพของข้อมูล (qualities of valuable information) ที่ถูกนำมาพิจารณา อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร e-mail: monarin@gmail.com http://15701105.mypage.utcc.ac.th

อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร e-mail: monarin@gmail.com วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน (SG003) Data Integrity ความถูกต้องและสมบูรณ์ของข้อมูล ถ้าข้อมูลที่ถูกนำมาประมวลผลไม่ถูกต้อง ก็จะส่งผลให้ output ที่ได้ไม่ถูกต้องไปด้วย (garbage in, garbage out: GIGO) เช่น หากเรากำหนดราคาสินค้าไม่ถูกต้อง เมื่อออกใบเสร็จให้กับลูกค้าก็จะพบว่าจำนวนเงินไม่ถูกต้องไปด้วย รหัสนักศึกษา ชื่อ - นามสกุล ชั้นปี 48110440 นายสมเกียรติ ดิ่งสวัสดิ์ 2 XX110527 นายภัทรกิจ โรจน์ทนง 48110574 นายธนศักดิ์ สุกิจจากร A 48110582 นายพิเชษฐ์ ศรีรินทร์ชัย 48112150 นายศิรภาพย์ พึ่งอาศัย อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร e-mail: monarin@gmail.com http://15701105.mypage.utcc.ac.th

Qualities of Valuable Information วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน (SG003) Qualities of Valuable Information คุณภาพของข้อมูลที่ถูกประมวลผลแล้ว (information) ก็มีผลต่อการตัดสินใจ ใบเสร็จ รายงานจำนวนคงคลัง (stock report) รายงานผลเกรด (ถ้าน.ศ.ได้ผลเกรดไม่ถูกต้อง ก็อาจจะวางแผนการเรียนได้ไม่ถูกต้องไปด้วย) อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร e-mail: monarin@gmail.com http://15701105.mypage.utcc.ac.th

อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร e-mail: monarin@gmail.com วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน (SG003) Hierarchy of data ลำดับชั้นของข้อมูล เนื่องจากข้อมูลนั้นมีความซับซ้อน, ขนาด และความสำคัญแตกต่างกัน การมองข้อมูลนั้นจึงสามารถทำได้ที่หลายระดับดังนี้ Characters Fields Records Files อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร e-mail: monarin@gmail.com http://15701105.mypage.utcc.ac.th

อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร e-mail: monarin@gmail.com วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน (SG003) Hierarchy of data Characters คงจำกันได้ว่าหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุดของคอมพิวเตอร์ก็คือ bit (0/1) กลุ่มของ 8 bit หรือ 1 byte จะใช้แทนตัวอักษร (character) 1 ตัว  ตามหลักการเข้ารหัสแบบ ASCII Fields กลุ่มของตัวอักษรตั้งแต่ 1 ตัว หรือข้อมูล 1 byte ขึ้นไป ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีการกำหนด ขนาดของกลุ่มข้อมูลนี้ (field size) ชนิดของกลุ่มข้อมูล (data type) อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร e-mail: monarin@gmail.com http://15701105.mypage.utcc.ac.th

Hierarchy of data – Data Type วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน (SG003) Hierarchy of data – Data Type Text (also called alphanumeric)—letters, numbers, or special characters Data Type Numeric numbers only AutoNumber unique number automatically assigned to each new record Currency dollar and cent amounts or numbers containing decimal values Date month, day, year, and sometimes time Memo lengthy text entries Yes/No (also called Boolean)—only the values Yes or No (or True or False) Hyperlink Web address that links to document or Web page อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร e-mail: monarin@gmail.com http://15701105.mypage.utcc.ac.th

อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร e-mail: monarin@gmail.com วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน (SG003) Hierarchy of data Records กลุ่มของ field ที่มีความสัมพันธ์กัน เช่น record ของน.ศ.ประกอบด้วยกลุ่มของ field ที่เกี่ยวกับน.ศ. Record จะมี key field (primary key) ซึ่งเป็นกลุ่มข้อมูลที่ใช้แทน record หนึ่งๆ และแต่ละ record จะมี key fieldแตกต่างกันเช่นรหัสนักศึกษาของนักศึกษาแต่ละคน Files หรือ data file ซึ่งก็คือกลุ่มของ record ที่ถูกจัดเก็บอยู่บน storage เช่น hard disk, CD, DVD อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร e-mail: monarin@gmail.com http://15701105.mypage.utcc.ac.th

File processing versus databases วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน (SG003) File processing versus databases File Processing Systems เป็นรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลในรูปแบบไฟล์ ซึ่งแต่ละหน่วยงานในองค์การแยกกันจัดเก็บ โดย record ภายในไฟล์หนึ่งๆ ไม่มีความสัมพันธ์ถึง record ที่อยู่ในไฟล์อื่นๆ ข้อเสียของการจัดเก็บไฟล์แบบนี้คือ ข้อมูลมีความซ้ำซ้อน – เนื่องจากมีการแยกเก็บข้อมูลเดียวกันหลายๆ ที่ และยังส่งผลให้เกิดข้อผิดพลาดได้ง่ายถ้าหากมีการแก้ไขข้อมูลไม่ตรงกัน ข้อมูลแยกออกจากกัน – ข้อมูลน.ศ.ทั้งหมด ต้องถูกดึงจากหลายไฟล์ เช่น ไฟล์ข้อมูลส่วนตัว, ไฟล์ข้อมูลเกรด, ไฟล์ข้อมูลกิจกรรม อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร e-mail: monarin@gmail.com http://15701105.mypage.utcc.ac.th

File processing versus databases วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน (SG003) File processing versus databases Database Approach เมื่อเราใช้การจัดเก็บข้อมูลแบบ database หน่วยงานต่างๆ ภายในองค์กรก็สามารถเก็บข้อมูลลงในที่เดียวกัน และเรียกใช้ข้อมูลของฝ่ายอื่นได้สะดวกง่ายดายขึ้น อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร e-mail: monarin@gmail.com http://15701105.mypage.utcc.ac.th

ข้อดีของการจัดเก็บข้อมูลแบบ database วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน (SG003) ข้อดีของการจัดเก็บข้อมูลแบบ database Reduce Data Redundancy ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล โดยแทนที่แต่ละแผนกในหน่วยงานจะเก็บข้อมูลแยกกัน ก็สามารถเก็บข้อมูลลงที่ฐานข้อมูลกลางได้ Improved Data Integrity เพิ่มความครบถ้วนถูกต้องให้กับข้อมูล โดยการแก้ไขข้อมูลใดๆ นั้นสามารถทำกับฐานข้อมูลกลางครั้งเดี่ยว และแต่ละหน่วยงานก็จะรับรู้ถึงการเปลี่ยนแปลงข้อมูลนี้ เหมือนๆกัน Shared Data ทุกหน่วยงานสามารถเข้าถึงข้อมูลของหน่วยงานอื่นๆ ได้ อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร e-mail: monarin@gmail.com http://15701105.mypage.utcc.ac.th

ข้อดีของการจัดเก็บข้อมูลแบบ database วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน (SG003) ข้อดีของการจัดเก็บข้อมูลแบบ database Easier Access ช่วยให้ผู้ใช้ที่ไม่มีความรู้ด้าน technical สามารถเข้าถึงและบริหารข้อมูลได้ Reduced Development Time ช่วยลดเวลาในการออกแบบและพัฒนาโปรแกรมให้กับโปรแกรมเมอร์หรือผู้ออกแบบระบบ เนื่องจาก DBMS มีเครื่องมือ (tool) เพื่อช่วยสำหรับการออกแบบ อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร e-mail: monarin@gmail.com http://15701105.mypage.utcc.ac.th

สรุปข้อแตกต่างของ File Processing และ Database วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน (SG003) สรุปข้อแตกต่างของ File Processing และ Database อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร e-mail: monarin@gmail.com http://15701105.mypage.utcc.ac.th

Database Management Systems (DBMS) วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน (SG003) Database Management Systems (DBMS) โปรแกรมที่ช่วยในการสร้าง, เข้าถึง และจัดการกับฐานข้อมูล อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร e-mail: monarin@gmail.com http://15701105.mypage.utcc.ac.th

อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร e-mail: monarin@gmail.com วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน (SG003) หน้าที่ของ DBMS Data Dictionary เรียกอีกชื่อคือ repository หรือ metadata ใช้เก็บรายละเอียดที่เกี่ยวกับข้อมูลภายในฐานข้อมูลเช่น ชื่อ-ชนิด-ขนาดของฟิลด์ เป็นส่วนหลักที่สำัคัญของ DBMS และควรให้เฉพาะ technical person เป็นผู้แก้ไข DBMS ใช้ data dictionary ในการตรวจสอบความถูกต้อง (validation checks) ของข้อมูล เช่นการป้อนข้อมูลลงในฟิลด์ที่กำหนดขนาดไว้ที่ 2 ตัวอักษร ผู้ใช้ก็จะไม่สามารถป้อนข้อมูลที่มีขนาดมากกว่าได้ อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร e-mail: monarin@gmail.com http://15701105.mypage.utcc.ac.th

อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร e-mail: monarin@gmail.com วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน (SG003) หน้าที่ของ DBMS Data Dictionary (ต่อ) ตัวอย่างของ data dictionary ในโปรแกรม MS Access อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร e-mail: monarin@gmail.com http://15701105.mypage.utcc.ac.th

อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร e-mail: monarin@gmail.com วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน (SG003) หน้าที่ของ DBMS File Retrieval and Maintenance เราสามารถดึงข้อมูลออกจาก database ได้โดยการใช้ query Query คือการร้องขอ (request) ข้อมูลจากฐานข้อมูล วิธีการที่ใช้ในการดึงข้อมูลออกจากฐานข้อมูลประกอบด้วย 4 รูปแบบดังนี้ Query Language Query by Example Form Report Generator อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร e-mail: monarin@gmail.com http://15701105.mypage.utcc.ac.th

อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร e-mail: monarin@gmail.com วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน (SG003) หน้าที่ของ DBMS Data Security เพื่อป้องกันไม่ให้ user ลบหรือเปลี่ยนแปลงข้อมูลสำคัญๆ บน database ได้ DBMS จะมีการป้องกันโดยการกำหนดให้ผู้มีสิทธิ์ (authorized user) เท่านั้นที่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ ผู้มีสิทธิ์นี้ยังถูกแบ่งออกเป็นลำดับขั้น (user level) โดยที่แต่ละระดับจะมีสิทธิ์ในการทำงานบนฐานข้อมูลแตกต่างกันไป อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร e-mail: monarin@gmail.com http://15701105.mypage.utcc.ac.th

อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร e-mail: monarin@gmail.com วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน (SG003) หน้าที่ของ DBMS Back up and Recovery เพื่อป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดกับฐานข้อมูล DBMS มีวิธีการป้องกันดังนี้ Backup: การสำรองข้อมูลไว้ที่ storage อื่นๆ Recovery: บน DBMS ที่มีความซับซ้อนสูงจะมีการเก็บการทำงานต่างไว้ในรูปแบบของ Log file เก็บข้อมูลก่อนการถูกเปลี่ยนแปลง (before image) เก็บรูปแบบการเปลี่ยนแปลง เก็บข้อมูลหลังเกิดการเปลี่ยนแปลง (after image) DBMS ที่มี log จะสามารถย้อนสถานะของข้อมูลไปยังจุดก่อนเกิดการเปลี่ยนแปลงได้ อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร e-mail: monarin@gmail.com http://15701105.mypage.utcc.ac.th

Relational, Object-oriented, & Multidimensional Databases วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน (SG003) Relational, Object-oriented, & Multidimensional Databases เราสามารถแบ่งรูปแบบของ database และ DBMS ได้ตามลักษณะของ data model Data model เป็นมาตรฐานที่บอกถึงโครงสร้างที่ database ใช้จัดเก็บข้อมูลซึ่งในปัจจุบันมี 3 มาตรฐานดังนี้ Relational Object-oriented Multidimensional อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร e-mail: monarin@gmail.com http://15701105.mypage.utcc.ac.th

อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร e-mail: monarin@gmail.com วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน (SG003) Relational Databases Database จัดเก็บข้อมูลเป็น table ที่ประกอบด้วย row และ column โดยข้อมูลแต่ละ row จะมี primary key และแต่ละ column จะมีชื่อไม่ซ้ำกัน เก็บความสัมพันธ์ (relation) ของแต่ละ table โปรแกรมที่ใช้งาน table แบบ 2 มิติ (two-dimensional table) จะเหมาะกับการใช้งาน relational database อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร e-mail: monarin@gmail.com http://15701105.mypage.utcc.ac.th

Relational Databases (ต่อ) วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน (SG003) Relational Databases (ต่อ) ตัวอย่างการสร้างความสัมพันธ์ของ table อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร e-mail: monarin@gmail.com http://15701105.mypage.utcc.ac.th

Relational Databases (ต่อ) วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน (SG003) Relational Databases (ต่อ) RDB มีการใช้ Structured Query Language (SQL) เพื่อให้ผู้ใข้สามารถทำการบริหาร แก้ไข หรือดึงข้อมูลบน database SQL ประกอบด้วย keyword พิเศษและข้อกำหนดดังแสดงในตัวอย่าง Select * from Student, Grade where Student.STUID = Grade.STUID SQL statement results อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร e-mail: monarin@gmail.com http://15701105.mypage.utcc.ac.th

Object-oriented Databases วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน (SG003) Object-oriented Databases เก็บข้อมูลใน object Object คือหน่วยที่ใช้เก็บทั้งข้อมูลและฟังก์ชันในการดึงหรือประมวลผลข้อมูลนั้น ตัวอย่างเช่น Student Object เก็บข้อมูลเช่น ID, First Name, Last Name, Address, ฯลฯ เก็บวิธีการสั่งพิมพ์ข้อมูล Student และวิธีการคำนวนเกรดให้กับ student ข้อดีเหนือ relational databases คือ สามารถเก็บข้อมูลได้หลายชนิด ดึงข้อมูลได้เร็วกว่า โปรแกรมเมอร์สามารถนำไป reuse ได้ เก็บข้อมูลที่ไม่มีโครงสร้างเช่น รูปภาพ, video, audio, documents ได้ดีกว่า relational database ใช้ object query language (OQL) ในการจัดการข้อมูล อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร e-mail: monarin@gmail.com http://15701105.mypage.utcc.ac.th

Object-Oriented Databases Multimedia databases Store images, audio clips, and/or video clips Groupware databases Store documents such as schedules, calendars, manuals, memos, and reports Computer-aided design (CAD) databases Store data about engineering, architectural, and scientific designs Hypertext databases Contain text links to other documents Hypermedia databases Contain text, graphics, video, and sound Web databases Link to e-form on Web page

Multidimensional Databases วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน (SG003) Multidimensional Databases จัดเก็บข้อมูลเป็นมิติ (dimension) การเก็บข้อมูลหลายๆ มิตินี้เรียนกว่า hypercube เพื่อที่ user จะสามารถวิเคราะห์ข้อมูลได้จากหลายๆ มุมมอง สามารถทำงานกับข้อมูลได้รวดเร็วกว่า relational database อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร e-mail: monarin@gmail.com http://15701105.mypage.utcc.ac.th

อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร e-mail: monarin@gmail.com วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน (SG003) Data Warehouses เป็นระบบ database ขนาดใหญ่ที่เก็บข้อมูลเพื่อนำไปใช้ในการวิเคราะห์การทำงานในอดีตและปัจจุบัน สามารถเข้าถึงข้อมูลจำนวนมากได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ มีการใช้การประมวลผลที่เรียกว่า data mining ในการหารูปแบบหรือความสัมพันธ์ระหว่าข้อมูล ทำงานบน multidimensional databases Data mart เป็น data warehouse ที่มีขนาดเล็กลง อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร e-mail: monarin@gmail.com http://15701105.mypage.utcc.ac.th

อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร e-mail: monarin@gmail.com วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน (SG003) Web Databases Database you access through the Web by filling in a form on a Web page Usually resides on a database server, a computer that stores and provides access to a database อ.มนรินทร์ เอื้อวิโรจนังกูร e-mail: monarin@gmail.com http://15701105.mypage.utcc.ac.th