Sociology of Development 01460441 สังคมวิทยาการพัฒนา Sociology of Development 6 : 22 ม.ค. 55
กรอบแนวคิดการพัฒนา กระบวนทรรศน์ (Paradigm) (1) ทรรศนะพื้นฐานอย่างใดอย่างหนึ่ง/หลายอย่างที่จะกำหนดแบบแผน การคิดและการปฏิบัติในประชาคมหนึ่งๆ (2) ความคิดรวบยอดของมนุษย์ที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง/หลายอย่าง โดยจะกำหนดแบบแผนความคิดหรือพฤติกรรมการกระทำ (3) เมื่อทรรศนะ/ความคิดพื้นฐานเปลี่ยนแปลงจะทำให้แบบแผนการคิด และการปฏิบัติที่เกี่ยวข้องเปลี่ยนแปลงไปด้วย (Paradigm Shift) 2 2
“การวิวาทะและความขัดแย้งช่วงชิงอำนาจ” การให้ความหมาย “การพัฒนา” : กรอบแนวคิดการพัฒนา การเปลี่ยนแปลงกระบวนทรรศน์ (Paradigm) “การวิวาทะและความขัดแย้งช่วงชิงอำนาจ” การให้ความหมาย “การพัฒนา” : - ทุนนิยม/เสรีนิยม - สังคมนิยม/คอมมิวนิสต์ ตั้งแต่เริ่มก่อกำเนิดของทฤษฎีแรกแห่งการพัฒนา (The First Theory of Development) 3 3
กรอบแนวคิดการพัฒนา การเปลี่ยนแปลงกระบวนทรรศน์ (Paradigm) - สมัยประธานาธิบดี Harry Trueman ของจักรวรรดินิยมอเมริกาภายหลังจากการยุติลงของสงครามโลกครั้งที่ 2 - การต่อสู้ระหว่างลัทธิการเมืองและนโยบาย 4 เป้าหมาย (Point Four Programme) เพื่อถ่วงดุลย์อำนาจ ช่วงชิงและครอบงำประเทศอ่อนแอให้ เป็นฐานกำลังในการต่อสู้กับปฏิปักษ์ - สงครามระหว่างลัทธิได้ดำเนินติดต่อกันมาจนกระทั่งเกิดการล่มสลายของ ลัทธิสังคมนิยมโซเวียต รวมทั้งการเปลี่ยนท่าที แนวทาง และนโยบายทางการเมืองของพันธมิตรหลายๆ ประเทศ 4 4
- ประเทศบริวารและกึ่งบริวารที่เปรียบเสมือนกับประเทศ กรอบแนวคิดการพัฒนา การเปลี่ยนแปลงกระบวนทรรศน์ (Paradigm) - การล่มสลายของลัทธิเศรษฐกิจการเมืองของประเทศที่เป็นปฏิปักษ์ทำให้เกิดการแพร่กระจายและขยายตัวของแนวคิดเศรษฐศาสตร์แระแสหลัก (Main Stream Economy) - ประเทศบริวารและกึ่งบริวารที่เปรียบเสมือนกับประเทศ อาณานิคมยุคใหม่ (New Colony) ของจักรวรรดินิยมอเมริกา นำเอาแนวคิดเศรษฐศาสตร์กระแสหลัก และแนวคิดปฏิฐานนิยมไปกำหนดแนวทางในการพัฒนาประเทศ 5 5
- แนวคิดการพัฒนาประเทศที่ใช้ก่อให้เกิดการแสวงหา : กรอบแนวคิดการพัฒนา การเปลี่ยนแปลงกระบวนทรรศน์ (Paradigm) - ผลการนำแนวคิดมาใช้พัฒนาประเทศอย่างขัดแย้งกับวัฒนธรรมและวิถีการดำรงชีวิต (Mode of Living) - แนวคิดการพัฒนาประเทศที่ใช้ก่อให้เกิดการแสวงหา : : ผลประโยชน์ส่วนบุคคลอย่างไร้ขอบเขต : การทำลายล้างระบบนิเวศ ระบบศีลธรรม วัฒนธรรม สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 6 6
กรอบแนวคิดที่ 1 (First Paradigm) เริ่มประมาณสงครามโลกครั้งที่ 2 ภายหลังสงครามเกิดภัยพิบัติ/หายนะ โดยเฉพาะพื้นที่ประเทศยุโรป และแนวคิดการพัฒนาแพร่หลายสู่ประเทศด้อยพัฒนาประมาณ 1950-60 นักทฤษฎีเสนอกรอบ “การพัฒนาเชิงเนื้อหาทางเทคนิค” (Technical matters) ที่มีการใช้วิเคราะห์ปัญหาสังคมด้อย พัฒนาต่างๆ ด้วยการประยุกต์ใช้:- : Neo-Classic Economic : American Social Science
กรอบแนวคิดที่ 1 (First Paradigm) เสนอตัวแบบเพื่อการวางแผนพัฒนา โดยเห็นว่า “เศรษฐศาสตร์พัฒนาการ” หรือ“Development Economics” เป็นศาสตร์/สาขาที่มีความก้าวหน้าสูง โดยลักษณะ เป็นศาสตร์เชิง “ปฏิฐาน” (Positive Science) ที่มีอิทธิพลต่อ การกำหนดทิศทางการพัฒนาประเทศต่างๆ โดยพิจารณา แนวการปฏิบัติงานเน้นดำเนินงานทางเศรษฐกิจลักษณะ -: Functional Approach :- เศรษฐกิจนำหน้าสังคม/การเมือง/วัฒนธรรม
กรอบแนวคิดที่ 1 (First Paradigm) ทฤษฎีภาวะทันสมัย ModernizationTheory เริ่มปลายสงครามโลกครั้งที่ 2 : โครงการฟื้นฟูประเทศยุโรป ตะวันออก (European Recovery Programme, ERP) = E/F/I/W G เสนอตัวแบบเพื่อการวางแผนพัฒนา โดยเห็นว่าประสบ ผลสำเร็จ แพร่หลายสู่ประเทศด้อยพัฒนา ทฤษฎีภาวะทันสมัย ModernizationTheory
กรอบแนวคิดที่ 1 (First Paradigm) ความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ” นักทฤษฏี/นักวิชาการ/นักปฏิบัติในกลุ่ม “ปฏิฐานนิยม/ สุขนิยม” (Positivists) เสนอ “การพัฒนาจะเกิดขึ้นต้องอาศัย ความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ” : อุปสรรค/ภาวะด้อยพัฒนาจะเกิดจากการขาดเงื่อนไขการ สร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ 10
กรอบแนวคิดที่ 1 (First Paradigm) ประเด็นการพัฒนา : : ขจัดเงื่อนไขอุปสรรค : เศรษฐกิจเจริญ : สังคมเจริญ กรอบแนวความคิดประยุกต์ใช้กว้างขวางทั้งประเทศ พัฒนาและประเทศด้อยพัฒนา ลักษณะแนวความคิด/ทฤษฎีกลไก (Technocratic Theory) : ใช้เป็นวิธีเชิงการปฏิบัติงาน
กรอบแนวคิดที่ 2 (Second Paradigm) พิจารณามองการพัฒนาเชิงโต้ตอบ/การต่อต้านกรอบ แนวคิด 1 st Paradigm เริ่มขึ้นระยะเวลาใกล้เคียงกันในพื้นที่ยุโรปตะวันตก ลาตินและอเมริกา ประมาณต้นทศวรรษที่ 1960 (2503) โดยเสนอแยกการศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาออกจาก : - เศรษฐศาสตร์พัฒนา - สังคมวิทยาอเมริกัน แนวคิดหลายกระแสมาก 12
กรอบแนวคิดที่ 2 (Second Paradigm) นักทฤษฎี/นักวิชาการกลุ่มนี้เรียกว่า แนวคิดก้าวหน้า (The Radicals) โจมตีวิพากษ์ทฤษฎีภาวะทันสมัยว่า เป็น การมองปัญหาคับแคบ/ไม่ครอบคลุมถึงแก่นแท้ปัญหามาก พอสำหรับการพัฒนาประเทศต่างๆ ปัญหาประเทศด้อยพัฒนาเกิดจากครอบงำ การเอารัดเอา เปรียบ และขูดรีดจากประเทศจักรวรรดินิยม Structuralism Approach 13
กรอบแนวคิดที่ 2 (Second Paradigm) หลักการที่ใช้วิเคราะห์ปัญหาและทางออกของสังคมด้อย พัฒนาที่ขยายตัวและได้รับความสนใจอย่างรวดเร็ว ได้แก่ - ทฤษฎีพึ่งพา (Dependency Theory) - ทฤษฎีภาวะด้อยพัฒนา (Underdevelopment Theory) 14
กรอบแนวคิดที่ 3 (Third Paradigm) เริ่มประมาณต้นศตวรรษที่ 1970 โดยกลุ่มนักทฤษฎี มาร์กซิสต์ (The Marxists) ที่เริ่มให้สนใจปัญหาการพัฒนา โลกที่ 3 การขยายตัวระบบทุนนิยมโลกมีผลต่อภาวะความสับสน และภาวะด้อยพัฒนาของประเทศด้อยพัฒนาทั่วไป
กรอบแนวคิดที่ 3 (Third Paradigm) : แนวทางพิจารณาปัญหาสังคมด้อยพัฒนา - วิถีการผลิต (Mode of Production) - การดูดซับมูลค่าส่วนเกินทางเศรษฐกิจ (Economic Surplus) - การขัดแย้งทางชนชั้น (Social Class Conflict)
กรอบแนวคิดที่ 3 (Third Paradigm) การพัฒนา : ทุน (Capital) แรงงาน (Labour) ความสัมพันธ์ระหว่างชนชั้น (Social Class Relationship)