สภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จัดทำโดย 1.ด.ช.พนาดร เขื่อนแก้ว ม.2/5 เลขที่ 6
Advertisements

ลักษณะภูมิศาสตร์ภาคใต้
สภาพแวดล้อมทางกายภาพของโลก
แบบทดสอบ รูปทรงสัณฐานของโลกลักษณะใดทำให้โลกมิได้มีทรงกลมเหมือนลูกปิงปอง ก แกนของโลก เอียง ข มีผิวขรุขระคล้ายผลส้ม ค ขั้วโลกทั้งสองยุบตัวลงเล็กน้อย ง มีพื้นน้ำมากกว่าผิวพื้นดิน.
1.ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural Resource)
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
นางสาววิไลวรรณ อยู่เย็น
ประเทศอาเซียน ประเทศพม่า.
กลุ่ม ดาวโลก ด.ญ.กรรณิการ์ เพ็งเอี่ยม เลขที่ 11 ม.2/1
รายงานเรื่อง ภาคเหนือ
ลักษณะภูมิประเทศ.
แผ่นดินไหว.
6. อย่าได้ยึดถือโดยการคาดคะเน การ คาดการณ์ตามประวัติศาสตร์ ตาม สถิติ ความน่าจะเป็น ซึ่งอาจจะผิดก็ ได้ เพราะเห็นแค่ร้อย อย่าเหมาว่าที่ ร้อยเอ็ดจะเป็นไปด้วย.
ปัจจัยทางภูมิศาสตร์และ การตั้งถิ่นฐานของประชาชน
คลื่นพายุซัดชายฝั่ง กลุ่มที่6.
รายงาน วิชา ET694 (Solar Energy)
ระบบนิเวศ (ECOSYSTEM)
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโลก
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
แผนที่เพื่อการศึกษา ข้อมูลทางภูมิศาสตร์
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับการตัดไม้ทำลายป่า และการสูญเสียพื้นที่ป่าไม้
ทวีปแอฟริกา เด็กชายวุฒิชัย เพชรฤทธิ์ เลขที่ 2 ม.3.
การละลายของธารน้ำแข็งและภาวะน้ำท่วม
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับมลพิษทางอากาศ
สภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์
วิกฤตการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย
หลักเกณฑ์การอ่านแผนที่
บทที่ 2 สภาพแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อการค้าระหว่างประเทศ
สัณฐานและโครงสร้างของโลก
จัดทำโดย ด.ช.ชนสรณ์ ศรีงาม เสนอ อ.ฐิตาพร ดวงเกตุ
สังคมศึกษา จัดทำโดย ชื่อ ด.ช. ประพันธ์ คำแผน เลขที10
โครงสร้างทางธรณีวิทยา
แผนที่ นางสาวพัชรินทร์ รุ่งสว่าง ตำแหน่งครูผู้ช่วย
สถานที่ท่องเที่ยวอำเภอ สามร้อยยอด
เรเนียนตะวันออกไปยังอ่าวเปอร์เซีย เอเชียตะวันออกกลางเป็นอนุภูมิภาคของ
ความรู้พื้นฐานด้านทรัพยากรน้ำ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับแผนที่
วิวัฒนาการ วิวัฒนาการของมนุษย์....
ลักษณะภูมิอากาศของทวีปยุโรป
ลักษณะภูมิอากาศในทวีปยุโรป
ลักษณะทางกายภาพของ ทวีปยุโรป.
ภูมิศาสตร์ของทวีปยุโรป
สภาพทางเศรษฐกิจ ใน ยุโรป.
ลักษณะภูมิประเทศของยุโรป
ลักษณะทางภูมิประเทศและภูมิอากาศของทวีปยุโรป
จังหวัดจันทบุรี นายมณเฑียร สุขผลรหัสนิสิต คณะสาธารณสุขศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม ชมเชยที่ 4
สรุปเนื้อหาสาระ ภูมิศาสตร์
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
การออกแบบการเรียนรู้ โดย ครูจตุพล สุทธิพันธ์
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
ดินถล่ม.
วิทยาศาสตร์ ว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน.
อุทยานแห่งชาติ เขาสามร้อยยอด มี พื้นที่ทั้งหมด ประมาณ 98 ตาราง กิโลเมตร หรือ 61,300 ไร่ ลักษณะ ภูมิประเทศ ประกอบด้วยภูเขา หินปูนสลับซับซ้อน เป็นอุทยานแห่งชาติ
ลักษณะภูมิประเทศของทวีปยุโรป
ภูมิอากาศแบบกึ่งอาร์กติก
แหล่งท่องเที่ยวไทย.
โลกและการเปลี่ยนแปลง
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
ดาวศุกร์ (Venus).
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
พื้นที่ผิวและปริมาตรทรงกลม
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
ให้นักเรียนดูภาพแผนที่ต่อไปนี้ แล้วช่วยบอกด้วยว่าเป็นแผนที่ชนิดใด
ครูจงกล กลางชล 1. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รู้และเข้าใจเกี่ยวกับ สภาพแวดล้อมทางสังคม และวัฒนธรรม 2.
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์ ครูโชคชัย บุตรครุธ

สภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์ ที่มีอิทธิพลต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ 1.1 ภูมิประเทศ  1.2 ภูมิอากาศ 1.3 ทรัพยากรธรรมชาติ 

2. ภูมิประเทศ ความหมาย ภูมิประเทศ ( Landforms ) หมายถึง ลักษณะสูง ๆ ต่ำ ๆ ของพื้นผิวเปลือกโลก ซึ่งมีส่วนประกอบ 2 ส่วน คือ

2. ภูมิประเทศ ความหมาย 2.1 ส่วนที่เป็นทวีป มีเนื้อที่ประมาณร้อยละ 29 ของเปลือกโลกทั้งหมด 2.2 ส่วนที่เป็นทะเลและมหาสมุทร มีเนื้อที่ประมาณร้อยละ 71 ของเปลือกโลกทั้งหมด

สาเหตุที่ทำให้เกิดลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะภูมิประเทศในส่วนที่เป็นทวีป เกิดจากตัวกระทำทางธรรมชาติ 2 ประเภท คือ 3.1 พลังภายในเปลือกโลก 3.2 พลังภายนอกเปลือกโลก

4. ภูเขา  4.1 ภูเขา ( Mountain ) คือ ส่วนของเปลือกโลกที่ถูกพลังภายในเปลือกโลกดันให้โค้งโก่งงอขึ้นมาจนโผล่พ้นเปลือกโลก หรือเกิดจากการระเบิดของภูเขาไฟ ทำให้เกิดเป็นภูเขาลูกใหม่ขึ้น

4. ภูเขา  4.2 ภูเขา หมายถึง พื้นที่ที่มีระดับความสูงขึ้นมาจากบริเวณโดยรอบ มีลักษณะคล้ายยอดแหลมมีความสูงตั้งแต่ 600 เมตรขึ้นไป ( หรือมีความต่างระดับของพื้นที่ตั้งแต่ 600 เมตรขึ้นไป )

4. ภูเขา  4.3 เทือกเขา  เป็นภูเขาหลาย ๆ ลูกวางตัวต่อเนื่องกันเป็นแนวยาว เช่น เทือกเขาหิมาลัย (Himalaya ) ของทวีปเอเชีย, เทือกเขาแอลป์ ( Alps ) ในทวีปยุโรป, เทือกเขาร็อกกี้ ( Rocky ) ในทวีปอเมริกา

การบอกความสูงของพื้นที่ ตามหลักเกณฑ์ทางภูมิศาสตร์มี 2 วิธี คือ การบอกความสูงของพื้นที่ ตามหลักเกณฑ์ทางภูมิศาสตร์มี 2 วิธี คือ 1. การใช้เส้นระดับน้ำทะเลปานกลาง ใช้วัดความสูง ของพื้นที่ในท้องถิ่นแห่งใดแห่งหนึ่ง โดยเริ่มต้นนับจากเส้นระดับน้ำทะเลปานกลาง

การบอกความสูงของพื้นที่ ตามหลักเกณฑ์ทางภูมิศาสตร์มี 2 วิธี คือ การบอกความสูงของพื้นที่ ตามหลักเกณฑ์ทางภูมิศาสตร์มี 2 วิธี คือ 2. การใช้ความต่างระดับภายในท้องถิ่น หรือความต่างระดับของพื้นที่ หมายถึงการบอกความสูงของ พื้นที่ โดยเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างพื้นที่ส่วนที่สูงที่สุดกับพื้นที่ส่วนที่ต่ำที่สุดในบริเวณท้องถิ่นแห่งนั้น

5. เนินเขา 5.1 เนินเขา ( Hill ) หมายถึง พื้นที่ที่มีระดับความสูงแตกต่างจากบริเวณโดยรอบ แต่มีความสูงไม่มากเหมือนภูเขา มีความต่างระดับของพื้นที่ประมาณ 150 – 600 เมตร

5. เนินเขา 5.2 เนินเขามีกระจายอยู่ทั่วไปในทุกทวีป ในบางประเทศของยุโรปพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นเนินเขาเกือบทั้งหมด เช่น โปรตุเกส อิตาลี ฯลฯ สำหรับประเทศไทยมีเขาวัง จังหวัดเพชรบุรี และเนินเขาในจังหวัดจันทบุรี เป็นต้น

จบ