การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (WEB PROGRAMMING) บทที่ 1 ความรู้เบื้งต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเวิลด์ไวด์เว็บ และโปรโตคอลที่เกี่ยวข้อง โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Advertisements

ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต
นำเสนอ เรื่อง x.25.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
นางสาวมะลิวรรณ ระหูภา
การสื่อสารข้อมูลและ เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ประโยชน์ของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
เทคโนโลยีสมัยใหม่ เรื่อง ระบบสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
แบบทดสอบ วิชา คอมพิวเตอร์ บทที่ 3
3.3ชนิดเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล เป็นกระบวนการถ่ายโอนข้อมูล/สารสนเทศจาก แหล่งกำเนิดข่าวสารผ่านสื่อกลาง เพื่อส่งไปยังจุดหมายปลายทางที่ต้องการ.
การนำสายใยแก้วนำแสงมาเชื่อมต่อ หัวเชื่อมต่อที่นิยมใช้มี ดังนี้
เครือข่ายการสื่อสารข้อมูลท้องถิ่น
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร V
โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร V
บทที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย (Fundamental of Data Communications and Networks) อ.ถนอม ห่อวงศ์สกุล.
1). ระบบเครือข่ายท้องถิ่น (Local Area Network : LAN)
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการค้นคว้า
รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายแบ่งตามกลุ่มผู้ใช้
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ทบทวนความเข้าใจ.
What’s P2P.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เรื่องการสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปร่างเครือข่าย อาจารย์วันวิสาข์ บุญพ่วง วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Computer Networks
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
จัดทำโดย ครูสุพิชชา ตันติธีระศักดิ์
Data Communication and Network
เรื่องความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความรู้พื้นฐานการสื่อสารข้อมูล
Data transfer rate(bandwidth) protocol file server web server.
รูปแบบการส่งสัญญาณข้อมูล
วัตถุระสงค์ สามารถเปรียบเทียบและอธิบายโทโพโลยีแต่ละรูปแบบได้ อย่างถูกต้อง สามารถบอกข้อดีและข้อเสียของโทโพโลยีแต่ละรูปแบบได้ สามารถอธิบายรายละเอียดในส่วนประกอบของเครือข่าย.
พนธกร หาดี (ptk.toomyai.ac.th) 1 ง หน่วยการเรียนรู้ที่ 5.
Chapter 3 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
กิจกรรมที่ เครือข่ายและ Internet explorer จุดมุ่งหมาย ให้ผู้เรียนรู้จักการใช้ประโยชน์ จากเครือข่าย ให้ผู้เรียนรู้จักการใช้ประโยชน์ จากเครือข่าย ให้ผู้เรียนรู้จักวิธีการเผยแพร่
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
บทที่ 2 รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) อ.พรขัย พันธุ์วิเศษ.
Network Management and Design
โครงสร้างของเครือข่ายและเครือข่ายของคอมพิวเตอร์
รูปแบบการเชื่อมโยงเครือข่าย
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
NETWORK.
การใช้งานอินเตอร์เน็ต
เครือข่ายแบบผสม จัดทำโดย ด. ช. ธีรภัทร ระงับทุกข์ ด. ช. ผดุงศักดิ์ อิ่มคุ้ม ด. ช. พีระยุทธ พอกพูล นำเสนอ อ. พรทิพย์ ตองติดรัมย์
บทที่ 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
ด. ช. พงศกร ภูมิ โคกรักษ์ ม.2/5 เลขที่ 32 โรงเรียนจักรคำ คณาทร.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
คำศัพท์ระบบอินเตอร์เน็ต
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย
นางเชาวลี สมบูรณ์ดำรงกุล
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปแบ รูปแบบของคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย ด. ญ. สุภิญญา จันต๊ะนารี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/6 เสนอ ครูสายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
แบบ Star จะเป็นลักษณะของการต่อ เครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่งของเส้นทาง ของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้นใน.
แบบดาว เป็นลักษณะของการต่อเครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่งของเส้นทางของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้น ใน โทโปโลยี
เครือข่าย MAN จัดทำโดย ด.ญ.รวงข้าว วิริยกสิกร ม.๒/๔ องคุณที่นี่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (WEB PROGRAMMING) บทที่ 1 ความรู้เบื้งต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเวิลด์ไวด์เว็บ และโปรโตคอลที่เกี่ยวข้อง โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี

อินเทอร์เน็ต คือ อะไร? Inter + (Connection) +Net = Internet เครือข่ายนานาชาติ ที่เกิดจากเครือข่ายเล็ก ๆ มากมาย รวมเป็นเครือข่ายเดียวกันทั้งโลก อินเทอร์เน็ต คือ การเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน ตามโครงการของอาร์ป้าเน็ต (ARPAnet = Advanced Research Projects Agency Network) เป็นหน่วยงานสังกัดกระทรวงกลาโหมของสหรัฐ (U.S.Department of Defense - DoD) ถูกก่อตั้งเมื่อประมาณ ปีค.ศ.1960(พ.ศ.2503) และได้ถูกพัฒนาเรื่อยมา

โปรโตคอล (Protocol) คือ กฎ ระเบียบแบบแผน หรือวิธีในการติดต่อสื่อสารข้อมูล ทำให้สามารถนำเทคโนโลยีด้านโทรคมนาคมที่แตกต่างกันมาใช้งานร่วมกันได้ ข้อกำหนดดังกล่าวช่วยให้อุปกรณ์ต่างๆ ที่เชื่อมต่อกันสามารถติดต่อสื่อสาร และรับส่งข้อมูลระหว่างกันได้อย่างถูกต้อง ข้อกำหนดเบื้องต้น โปรโตคอลที่เกี่ยวข้องการการพัฒนาเว็บ เช่น HTTP, HTTPS เป็นต้น นอกจากนั้นยังต้องใช้พอร์ต (port) เสมือนช่องทางการสื่อสารด้วย มีทั้งหมด 65,535 พอร์ต ที่นิยมใช้กับเว็บไซต์ คือ 80 เป็นต้น

ประเภทของเครือข่าย (Type of network) แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ เครือข่ายเฉพาะที่ เครือข่ายระดับเมือง และเครือข่ายระดับประเทศ เครือข่ายเฉพาะที่ (Local Area Network : LAN) เครือข่ายที่มีการเชื่อมต่อกันในระยะใกล้ ครอบคลุมภายใต้พื้นที่จำกัด เชื่อมต่อภายในอาคารเดียวกัน หรืออาคารในบริเวณเดียวกัน เชื่อมต่อเครื่องพีซีตั้งแต่สองเครื่องเข้าด้วย อาจรวมถึง เครื่องพิมพ์และอุปกรณ์อื่นๆ เพื่อใช้ทรัพยากรร่วมกัน หากต้องการเชื่อมต่อระยะไกลขึ้น จะใช้อุปกรณ์ทวน สัญญาณ (Repeater) ร่วมด้วย

ประเภทของเครือข่าย (Type of network) ต่อ เครือข่ายระดับเมือง (Metropolitan Area Network : MAN) เชื่อมต่อเครือข่าย LAN เข้าไว้ด้วยกัน ครอบคลุมพื้นที่กว้าง ระดับเมืองหรือจังหวัด มีแบคโบน (Backbone) ทำหน้าที่เป็นสายหลักในการเชื่อมเครือข่าย เครือข่ายระดับประเทศ (Wide Area Network : WAN) เชื่อมต่อเครือข่ายต่างๆ เข้าด้วยกัน ครอบคลุมระดับประเทศหรือข้ามทวีป ติดต่อผ่านช่องทางสื่อสารระยะไกล เช่นสายโทรศัพท์ เคเบิล ดาวเทียม

ประเภทของเครือข่าย (Type of network) ต่อ

สถาปัตยกรรมเครือข่าย (Network architecture) อธิบายถึงการจัดการเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับ การจัดรูปแบบการเชื่อมต่อทางกายภาพ วิธีการเชื่อมต่อ และการรับส่งข้อมูล ลักษณะการใช้งานเครือข่าย รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย (Topology) หลักๆ ที่นิยมใช้มี 3 แบบ แบบดาว (Star) แบบวงแหวน (Ring) แบบบัส (Bus)

การเชื่อมต่อแบบดาว (Star Topology) เริ่มต้นจากการเชื่อมต่อในระบบเมนเฟรม เทอร์มินัลเชื่อมต่อกับเมนเฟรมเพื่อขอใช้ทรัพยากร มีคอมพิวเตอร์ตรงกลางเป็นตัวควบคุมการรับส่งข้อมูล เรียกว่า ฮับ (Hub) เครื่องอื่นๆ เชื่อมต่อไปยังฮับ ลักษณะคล้ายรูปดาว เป็นการสื่อสารแบบ 2 ทิศทาง ไม่มีการชนกันของข้อมูล เพราะส่งได้ทีละเครื่อง ข้อดี ติดตั้งและดูแลง่าย ถ้าเครื่องลูกข่ายเสีย ก็ตรวจสอบได้ง่าย เครื่องอื่นยังติดต่อกันได้ ข้อเสีย ถ้าฮับเสีย เครือข่ายล่ม ใช้สัญญาณมากกว่าแบบอื่น

การเชื่อมต่อแบบวงแหวน (Ring Topology) เชื่อมต่อกันแบบวงกลม รับส่งแบบทิศทางเดียว ตรวจสอบข้อมูลที่ส่งมาว่าใช่ของตนหรือไม่ ถ้าใช่ก็รับไว้ ถ้าไม่ใช่ก็ส่งต่อ ข้อดี ส่งข้อมูลไปยังผู้รับหลายเครื่องๆ พร้อมกันได้ ไม่เกิดการชนกันของข้อมูล ข้อเสีย ถ้าเครื่องใดมีปัญหา เครือข่ายล่ม การติดตั้งทำได้ยาก และใช้สายสัญญาณมากกว่าแบบบัส

การเชื่อมต่อแบบบัส (Bus Topology) เชื่อมต่อเป็นเส้นตรง มีสายหนึ่งทำหน้าที่เป็นแกนหลัก (backbone) ทุกเครื่องจะเชื่อมต่อเข้าสู่แกนนี้ ข้อดี ประหยัดสายสัญญาณ เครื่องหนึ่งเสียก็ไม่กระทบกับเครือข่าย ข้อเสีย อาจเกิดการชนกันของ ข้อมูลได้ ต้องมีการส่งใหม่ ถ้าสายหลักเสีย เครือข่ายล่ม

ลักษณะการใช้งานเครือข่าย (Type of LAN) Client/Server ประกอบด้วยเครื่องที่ทำหน้าที่ให้บริการ (Server) และเครื่องที่ทำหน้าที่ขอใช้บริการ (Client) Server จะทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของเครือข่าย การเข้าถึงอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ รวมถึงข้อมูลบนเครือข่าย Client เป็นเครื่องลูกข่าย จะร้องขอความต้องการไปยัง server Peer-to-peer ให้ความสำคัญกับเครื่องในเครือข่ายเท่ากัน ไม่ต้องมีตัวควบคุม แต่ละตัวเป็นได้ทั้งเครื่องลูกข่ายและเครื่องบริการ สามารถใช้ทรัพยากรร่วมกันได้ ต้นทุนต่ำ ไม่คำนึงถึงความปลอดภัยมากนัก

ลักษณะการใช้งานเครือข่าย (Type of LAN) ต่อ Client/Server Peer-to-peer

Q/A