7.2 ลวดลายบนพื้นผิว (Texture)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Advertisements

การเคลื่อนที่.
ประชากร (Population) จำนวน N สุ่ม (Random) กลุ่มตัวอย่าง (Sample)
การเขียนหุ่นนิ่งรวม.
2.5 Field of a sheet of charge
Energy and Potential วัตถุประสงค์ ทราบค่าคำจำกัดความ “งาน” ในระบบประจุ
4.5 The Potential Field of A System of Charges : Conservative Property
ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์
การวาดเส้นองค์ประกอบศิลป์
MTE 426 การวิเคราะห์ตำแหน่ง พิเชษฐ์ พินิจ 1.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
Image Enhancement in the Spatial Domain
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
COMPOSITION องค์ประกอบศิลป์.
ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต. ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต.
Functional programming part II
Chapter 8 The Steady Magnetic Field
Probability & Statistics
Probability & Statistics
TWO-DIMENSIONAL GEOMETRIC
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
องค์ประกอบ Graphic.
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
ค่าสุดขีดและจุดอานม้า Extreme Values and Saddle Points
วันนี้เรียน สนามไฟฟ้า เส้นแรงไฟฟ้า
บทที่ 6 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์
การนำทฤษฎีกราฟมาใช้ในด้าน
แนวคิด พื้นฐาน ทางสถิติ The Basic Idea of Statistics.
งานและพลังงาน (Work and Energy).
สภาพท้องฟ้า หลักปฏิบัติในการตรวจอากาศ
Image Processing and Computer Vision
Image Processing & Computer Vision
Image Processing & Computer Vision
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
บทที่ 7 การทดสอบแรงอัด Compression Test
การตรวจสอบข้อมูลทางอุทกวิทยา
บทที่ 4 องค์ประกอบศิลป์.
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
CONTRAST- EMPHASIS.
บทที่ 5 พจนานุกรมข้อมูล Data Dictionary
การตัดสินใจเบื้องต้น : สถิติเบื้องต้น (Introduction to statistics)
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
ความหมายและชนิดของคลื่น
บทที่ ๖ การวิเคราะห์ข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS DATA ANALYSIS)
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
หลักการออกแบบ ครูอนุชา สุระถา MR.ANUCHA SURATHA ครูนฤศรณ์ วิมลประสาร MR.NARUSORN WIMONPRASARN.
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ
Geographic Information System
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
ผศ. ดร. ศุภวัจน์ รุ่งสุริยะวิบูลย์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เทคนิคในการวัดความเสี่ยง
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
หลักเกณฑ์การออกแบบ.
Tip & Trick ตัดต่อ และซ้อนภาพ ปรับแต่งภาพให้สีสันสดใส
หน่วยที่ 8 การตกแต่งภาพถ่าย
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์อย่างง่าย
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
Adobe Photoshop เทคนิคพิเศษ และฟิลเตอร์
องค์ประกอบศิลป์สำหรับการถ่ายภาพ
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
โรงเรียนวังไกลกังวล หัวหิน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

7.2 ลวดลายบนพื้นผิว (Texture)

ลวดลายเป็นคุณลักษณะที่เด่นและได้ถูกนำมาเป็นดัชนีเพื่อใช้อธิบายและแปรความหมายภาพ ใช้สืบค้นภาพในฐานข้อมูล รวมทั้งใช้เพื่อการแยกกลุ่มภาพ (image classification) มาเป็นเวลาช้านาน ลักษณะที่สำคัญของลวดลายคือลักษณะที่ซ้ำ ๆ กันของรูปแบบพื้นฐาน (fundamental patterns)

ดังนั้นลวดลายจึงต้องพิจารณาจากกลุ่มของจุดภาพที่อยู่ติดกันซึ่งมีลักษณะของค่าความเข้มตามเงื่อนไขที่กำหนดซึ่งเรียกว่า texture primitives หรือ texture elements หรือ texels

ปริมาณที่นิยมใช้เพื่ออธิบายลักษณะของลวดลายที่สำคัญ คือ ความคมชัด (contrast) ความสม่ำเสมอ (uniformity) ความหยาบ (coarseness) ความขรุขระ (roughness)

ความเป็นระเบียบ (regularity) ความถี่ (frequency) ความหนาแน่น (density) ทิศทาง (directionality)

7.2.1 Statistical texture description

Spatial frequencies เป็นการอธิบายลักษณะของลวดลายโดยใช้ลักษณะทางตำแหน่ง (spatial characteristic) เป็นหลัก

ก) โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์จาก autocorrelation function

ลวดลายที่หยาบจะมีความถี่ต่ำ ค่าของ autocorrelation function ลดลงอย่างช้า ๆ เมื่อระยะทางเพิ่มขึ้น

ข) ค่าสัมประสิทธิ์จากการทำการแปลงแบบ Fourier, Gabor filter bank และ wavelet transform

2) co-occurrence matrices เป็นการอธิบายลักษณะของลวดลายโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่าง texture primitives ที่อยู่ติดกันในทิศทางและระยะทางที่กำหนด

ตัวอย่าง texture primitives ของลวดลายคือค่าความเข้มแสงของภาพต่อไปนี้ซึ่งมี 3 ค่า (0,1,2) และกำหนดทิศทางของจุดภาพที่มีความเข้ม i และ j ดังภาพ ที่ระยะทาง d=1 หน่วย จะได้ co-occurrence matrices ดังนี้

Co-occurrence matrix ภาพ ทิศทาง

correlation

จาก co-occurrence matrices สามารถคำนวณหาค่าคุณลักษณะของลวดลายได้ ดังนี้ energy entropy

maximum probability contrast

inverse difference moment

100 101 102

3. edge frequency เป็นการอธิบายลวดลายโดยใช้ความถี่ของการเกิดเส้นขอบโดยใช้ gradient ของทุกจุดภาพ จากนั้นหาค่าเฉลี่ยของค่า gradient ในทิศทางที่กำหนดให้ และสุดท้ายจะได้คุณลักษณะของลวดลายต่อไปนี้

dimensionality ได้จากจำนวนค่าระยะทาง d ที่ใช้ไปทั้งสิ้นเพื่อการคำนวณค่า gradient coarseness ได้จากจำนวนเส้นขอบ contrast ได้จากขนาดของค่า gradient ของเส้นขอบ randomness ได้จากค่า entropy ของขนาดของ histogram ของเส้นขอบ

directivity ได้จากค่า entropy ของขนาดของ the edge-direction histogram ของเส้นขอบ linearity ได้จากค่า co-occurrences ของจุดภาพที่เป็นเส้นขอบในทิศทางเดียวกับทิศทางของเส้นขอบและระยะทางที่กำหนดให้

4. primitive length เป็นการนับจำนวนจุดภาพที่มีค่าความเข้มเท่ากันหรือใกล้เคียงกัน ถ้ามีจำนวนมากแสดงว่าเป็นลวดลายหยาบ ถ้ามีจำนวนน้อยแสดงว่าเป็นลวดลายละเอียด

ถ้าให้ B(a,r) เป็นจำนวน texture primitive ที่มีค่าความเข้ม a และความยาว r, Nr เป็นความยาวสูงสุดของ texture primitive, M, N เป็นขนาดของภาพ และ L เป็นจำนวนระดับของค่าความเข้มในภาพ

the total number of runs short invert primitive emphasis

short primitive emphasis ความสม่ำเสมอของค่าความเข้มแสง

ความสม่ำเสมอของ primitive length Primitive percentage

5. mathematical morphology เป็นการกระทำที่ใช้รูปร่าง (shape) และเรขาคณิตเป็นหลักในการคำนวณคณิตศาสตร์ที่ใช้ คือ ทฤษฎี point set, integral geometry และ topology

คำอธิบายหลักการที่สำคัญของกระบวนการนี้โดยย่อ คือ เป็นการหาความสัมพันธ์ระหว่างจุดภาพและ point set (B) ซึ่งเรียกว่า structuring element ซึ่งจะเคลื่อนที่ไปทั่วทั้งภาพ

mathematical morphology สามารถใช้อธิบายลักษณะของลวดลายได้โดยใช้การกระทำ erosion, dilation, opening และ closing หลาย ๆ ครั้งต่อเนื่องกันอย่างเหมาะสม [Dougherty et al. 89]

6. Markov random field (MRF) เป็นการสร้างแบบจำลองเพื่ออธิบายลักษณะของลวดลายโดยใช้วิธีการทางสถิติที่เรียกว่า Bayes’ rule ซึ่งกล่าวว่า

การประมาณค่าความน่าจะเป็น posterior Pr(f|O) ของสมมุติฐาน f เมื่อกำหนด observations O มาให้จะเป็นสัดส่วนโดยตรงกับผลคูณของ likelihood Pr(O|f) และความน่าจะเป็น prior Pr(f) Pr(f|O) Pr(O|f) Pr(f)

สำหรับลวดลายนั้นค่า Pr(f) สามารถสร้างขึ้นมาได้จากแบบจำลองของ texture primitive โดยใช้ MRF จากนั้นเราสามารถหาพารามิเตอร์ของลักษณะลวดลายโดยกระทำการหาค่า maximum a posteriori (MAP)

7.2.2 Syntactic texture description Shape chain grammars Graph grammars Primitive grouping in hierarchical textures 7.2.3 Hybrid texture description methods