การบริหารความขัดแย้ง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
Advertisements

กิจกรรมที่ 9 ระดับสารสนเทศ จุดประสงค์ อธิบายและจำแนกระดับสารสนเทศ.
ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การประสานงาน.
การวิเคราะห์และประเมินค่างาน
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
หน้าที่ของผู้บริหาร.
The Power of Communication
การสื่อสารภายในองค์การ
Research Problem ปัญหาการวิจัย
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
น.ส. บุญศรี โชติวรรณวิวัฒน์
"กิจกรรมพัฒนานักศึกษาเพื่อลด ละ เลิก อบายมุข"
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
ความขัดแย้ง ( Conflict )
พฤติกรรมองค์การ ( Organization Behavior )
( Organization Behaviors )
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
องค์การสมัยใหม่ (Modern organization) หมายถึง การที่มีกลุ่มคนมาทํางาน ร่วมกันอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้บรรลุเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งองค์สมัยใหม่การมีลักษณะร่วมกันอยู่
ความหมาย ประโยชน์ ลักษณะของทีม
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
6. การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ. มาตรฐานความ ประพฤติ การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ มาตรฐานความ ประพฤติ 7. การทำความเข้าใจซึ่งกันและกัน.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
เพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
The General Systems Theory
วัตถุประสงค์การเชื่อมโยงเครือข่าย
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
การบริหารการเงินโรงเรียน
“การพัฒนากลุ่มเกษตรกรที่ร่วมโครงการฯ ให้เกิดความเข้มแข็ง”
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำงานเป็นทีม
( Organization Behaviors )
การจูงใจ (Motivation)
สุขภาพจิต และการปรับตัว
ผู้นำกับประสิทธิภาพในการทำงาน
บทที่ 3 แรงจูงใจในการทำงาน.
ขวัญในงานธุรกิจอุตสาหกรรม
บทที่ 4 Organization กำหนดโครงสร้างที่เหมาะสม Org.Chart
Good Corporate Governance
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง (Conflict and Negotiation)
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
วิเคราะห์ความขัดแย้งจากบทความ
การแก้ไขปัญหาและการจัดการความขัดแย้ง
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
มาตรฐานการควบคุมภายใน
การบริหารและกระบวนการวางแผน
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
ความเข้มแข็งให้ : ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน
( Human Relationships )
การจัดการความขัดแย้ง (Conflict Management)
I โดย รองศาสตราจารย์แสง สุรีย์ สำอางกูล และคณะ ( สงวน ลิขสิทธิ์ ตามกฎหมาย )
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การสั่งการและ การมอบหมายงาน
โครงสร้างขององค์การ.
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
การศึกษาบัณฑิต (กศบ.) เทคโนโลยีทางการศึกษา มศว. ประสานมิตร
บทที่ 4 หลักและวิธีการพัฒนาชุมชน
การสร้างทีมงานในการบริหารโครงการ
ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ
วัฒนธรรมและค่านิยม ขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้
แนวทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
วิพากษ์วิจารณ์ข้อดีของทฤษฎี
การทำงานเป็นทีม การทำงานเป็นทีม หมายถึง กลุ่มคนที่ต้องมาทำงานร่วมกัน โดยมีวัตถุประสงค์อย่างเดียวกันและเป็นการรวมตัวกัน โดยอาศัยความรู้ ความเข้าใจ ความผูกพัน.
การศึกษาความพึงพอใจในการ ปฏิบัติงานของบุคลากร โรงเรียนบริหารธุรกิจอยุธยา A Study Of Job Satisfaction Of Ayutthaya Business Administration School Employees.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารความขัดแย้ง

ความขัดแย้ง(conflict) คือ สภาพของความไม่ราบรื่นที่เกิดขึ้น ภายในตัวบุคคล ระหว่างบุคคล หรือระหว่างกลุ่ม เนื่องจากมีความต้องการหรือผลประโยชน์ขัดแย้งกัน และไม่สามารถตัดสินใจหรือหาข้อตกลงร่วมกันได้

ชนิดของความขัดแย้ง

ความขัดแย้งภายในตัวเอง (Self Conflict)

1.1 ความขัดแย้งแบบดึงดูด – ดึงดูด (Approach – Approach Conflict) “รักพี่เสียดายน้อง”

“หนีเสือปะจรเข้” 1.2 ความขัดแย้งแบบหลีกเลี่ยง – หลีกเลี่ยง (Avoidance – Avoidance Conflict) “หนีเสือปะจรเข้”

“อยากจะลงไปเด็ดบัว แต่ก็กลัวเปียกน้ำ” 1.3 ความขัดแย้งแบบดึงดูด – หลีกเลี่ยง (Approach – Avoidance Conflict) “อยากจะลงไปเด็ดบัว แต่ก็กลัวเปียกน้ำ”

2. ความขัดแย้งภายในกลุ่ม (Intragroup Conflict)

3.ความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม (Intergroup Conflict)

ลักษณะและพฤติกรรม ที่เกิดความขัดแย้ง

1. สมาชิกขาดความร่วมมือและประสานงานกัน 2. สมาชิกคำนึงถึงเป้าหมายส่วนตนมากกว่าเป้าหมายร่วมของกลุ่ม 3. มีการเกี่ยงงอนหรือแก่งแย้งหน้าที่และความรับผิดชอบ กันอยู่เสมอ 4. สมาชิกไม่กลัวเกรงกฎ ระเบียบ และบรรทัดฐานของกลุ่ม 5. สมาชิกย่อท้อ ไม่ทุ่มเท กำลังกายกำลังใจ สติปัญญาและเวลา เพื่อกลุ่มอย่างเต็มที่ 6. มีการชิงดีชิงเด่นกันอยู่เป็นประจำ

7. บรรยากาศในการทำงานเต็มไปด้วยความอิจฉาริษยา เงียบเหงา วังเวง ขาดการติดต่อสื่อสาร 8. ขาดความมั่นคงในงาน สมาชิกเบื่อหน่ายการทำงาน 9.สมาชิกต่างเสนอวิธีการหลากหลายเพื่อให้บรรลุเป้าหมายและต่างก็ยืนยันว่าวิธีการของตนดีกว่า โดยไม่ยอมลดราวาศอก 10. เรื่องความขัดแย้งกระทบกระทั่งกันเล็กน้อยของสมาชิกมักจะบานปลายเป็นทำนอง “น้ำผึ้งหยดเดียว”

สาเหตุแห่งความขัดแย้ง

1.ความขัดแย้งทางด้านบุคลิกภาพ ค่านิยม ความคิด และประสบการณ์ 2.ความแตกต่างทางด้านความรู้ ความสามารถ 3.ความเข้าใจในเรื่องข้อมูลและข้อเท็จจริงไม่ตรงกัน 4. การกำหนดหน้าที่ในงานไม่ชัดเจน 5. การแข่งขันเพื่อแย่งชิงทรัพยากรและผลประโยชน์

6. ความขัดแย้งในเรื่องวัตถุประสงค์ของหน่วยงาน 7. ความขัดแย้งเกี่ยวกับวิธีปฎิบัติ 8. ผลประโยชน์ขัดกัน 9.โครงสร้างขององค์กรไม่ชัดเจน 10.ขาดการสื่อสารที่ดี