บรรยายโดย สุรางคนา ธรรมลิขิต การออกแบบระบบฐานข้อมูล บรรยายโดย สุรางคนา ธรรมลิขิต
Systems Development Life Cycle
วัฏจักรการพัฒนาระบบ (SDLC) System Development Life Cycle การวางแผน (planning) การวิเคราะห์ระบบ (analysis) การออกแบบรายละเอียดของระบบ (detailed systems design) การดำเนินการ (implementation) Coding & Testing & Installation & fine-tuning การบำรุงรักษาระบบ (Maintenance) Evaluate, Maintenance and Enhance
Database Lifecycle (DBLC) Figure 6.3
วัฏจักรของฐานข้อมูล (DBLC) การศึกษาเบื้องต้น การออกแบบฐานข้อมูล การติดตั้งระบบ การทดสอบและประเมินผล การดำเนินการ การบำรุงรักษาและปรับปรุง
ขั้นที่ 1 ศึกษาเบื้องต้น
ขั้นที่ 2 การออกแบบฐานข้อมูล Database Design
ขั้นตอนการออกแบบฐานข้อมูล การออกแบบเชิงแนวคิด (Conceptual Design) การเลือกโปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูล (DBMS Software Selection) การออกแบบทางตรรกะ (Logical Design) การออกแบบทางกายภาพ (Physical Design)
การออกแบบเชิงแนวคิด เป็นการนำข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ระบบขององค์กรมาทำการออกแบบเพื่อให้ได้เค้าร่างของฐานข้อมูลในระดับแนวคิด (Conceptual Schema) ที่ประกอบด้วย เอนติตี้ ความสัมพันธ์ของข้อมูล แอททริบิวต์
ขั้นตอนในการออกแบบเชิงแนวคิด การรวบรวมความต้องการของผู้ใช้งานและวิเคราะห์ข้อมูลที่ต้องการจัดเก็บ การออกแบบด้วยแบบจำลองอี-อาร์ (E-R Model) กำหนดเอนติตี้หลัก กำหนดควาสัมพันธ์ของเอนติตี้ ระบุแอททริบิวต์ที่เป็นรายละเอียดข้อมูลของเอนติตี้หรือความสัมพันธ์ กำหนดโดเมนของแอททริบิวต์ กำหนดแอททริบิวต์ที่มีคุณสมบัติเป็นคีย์คู่แข่งและคีย์หลัก ทบทวนการออกแบบข้อมูล
Entity Relationship Modeling and Normalization Table 6.2
E-R Modeling is Iterative Figure 6.8
Concept Design: Tools and Sources Figure 6.9
การเลือกโปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูล
การเลือก DBMS ต้องคำนึงถึง ค่าใช้จ่าย ราคาและค่าซ่อมบำรุง การใช้งาน การติดตั้ง การฝึกอบรม ลิขสิทธิ์ ค่าใช้จ่ายในการเปลี่ยนระบบใหม่ คุณลักษณะและเครื่องมือของ DBMS ความสามารถในการใช้งานข้าม Platform และภาษา ความต้องการด้านฮาร์ดแวร์ของ DBMS
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงตรรกะ (Logical Database Design)
การออกแบบฐานข้อมูลในระดับตรรกะ เป็นการแปลงการออกแบบระดับแนวคิด (Conceptual Design) ให้เป็นแบบจำลองของฐานข้อมูลในระดับภายใน (Internal Model) ซึ่งในขั้นนี้จะขึ้นกับระบบจัดการฐานข้อมูลที่เราเลือก เช่น DB2, PostgreSql, Oracle, Mysql เป็นต้น ในระดับนี้เป็นการเสริมแนวคิดเรื่องการทำตารางให้เป็นบรรทัดฐาน (Normalization) และ Denormalization เพื่อปรับให้ระบบมีประสิทธิภาพมากขึ้น
การออกแบบระดับตรรกะ (ต่อ) ในการออกแบบขั้นตอนนี้ จึงประกอบด้วยการออกแบบเกี่ยวกับ Tables Indexes Views Transactions Access authorities Others
การออกแบบฐานข้อมูลระดับกายภาพ Physical Design
การออกแบบฐานข้อมูลในระดับกายภาพ เป็นการพิจารณาถึงโครงสร้างการจัดเก็บข้อมูล (Storage) และ วิธีการเข้าถึงข้อมูล (Access Method) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึง การกำหนดระบบรักษาความปลอดภัยในการเข้าถึงข้อมูล
การออกแบบฐานข้อมูลในระดับกายภาพ ผู้ออกแบบควรพิจารณาใน Transaction Analysis File Organization Access Method Estimate Diskspace Create Relation and Integrity Constraint Database Security System
Physical Organization