3D modeling การสร้างแบบจำลอง 3 มิติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ชั้นประถมปีที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗
Advertisements

การถ่ายภาพงานพัฒนาชุมชน
ประโยชน์ของ เครื่องโปรเจคเตอร์
นักศึกษาทุกคน วิชา การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ทางการแพทย์
น้ำหนักแสงเงา.
การเขียนหุ่นนิ่งรวม.
รูปเรขาคณิต แบ่งเป็น 2 ประเภท รูปเรขาคณิตสองมิติ รูปเรขาคณิตสามมิติ
หลักสูตร eLearning สำหรับ มทรก เม.ย.09
Engineering Problem Solving Program by Using Finite Element Method
หมายเลขโครงการ : COE ผู้พัฒนาโครงการ : นางสาวนิรมล พันสีมา รหัส
การวาดเส้นองค์ประกอบศิลป์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
สื่อคุณค่าพระวรสาร กราฟิกเบื้องต้น วิชาคอมพิวเตอร์ ม.1.
ทัศนธาตุคือหัวใจ เป็นบันไดสร้างทัศนศิลป์
สื่อประกอบการเรียนรู้
กระบวนการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry process)
หนังสือไร้กระดาษ.
ประวัติการถ่ายภาพ(1) วิชาการถ่ายภาพ ได้มีการพัฒนาต่อเนื่องกันมาหลายร้อยปีตามลำดับ ก่อนจะมีกล้องถ่ายภาพ จนในศตวรรษที่ 19 มนุษย์ก็ประสบความสำเร็จในการคิดค้นกระบวนการสร้างภาพ.
องค์ประกอบ Graphic.
หลักการพัฒนา หลักสูตร
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
บทที่ 3 การเขียนภาพฉายในระนาบสองมิติ (ส่วนที่ 2)
และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การสร้างงานกราฟิก.
Programs Computer CAD/CAM Company Logo.
รูปแบบของเว็บเพจ. รูปแบบของเว็บเพจ รูปแบบของเว็บเพจ 1. เว็บเพจในแนวตั้ง.
การวางแผนและการดำเนินงาน
แบบทดสอบก่อนเรียน วิชา โครงงานคอมพิวเตอร์
Poster Presentation โดย สำหรับ การประชุม สคร.5 รศ.นพ.สมพนธ์ ทัศนิยม
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
ความรู้เบื้องต้น การออกแบบ Media.
เทคนิคการสอนและการใช้สื่อคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
หลักศิลปะเพื่อการออกแบบสวน
ป.บัณฑิต การบริหารการศึกษา รุ่นที่ 9 มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด
สื่อการเรียนการสอน.
T.O.O.B Dome Screen จอโดม เพิ่มประสบการณ์ 3D ให้กับ Game Pracha rattano It 51 Creator. Feature. ผู้ประดิษฐ์ ลักษณะ จุดเด่น Reference. แหล่งข้อมูลอ้างอิง.
หลักการออกแบบ ครูอนุชา สุระถา MR.ANUCHA SURATHA ครูนฤศรณ์ วิมลประสาร MR.NARUSORN WIMONPRASARN.
เนื้อหาที่มีประโยชน์ Useful Content
Photovoice.
แผนผังแสดงองค์ประกอบของศิลปะ
CorelDRAW 12.
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
หลักเกณฑ์การออกแบบ.
การจัดองค์ประกอบของภาพ
ความหมายของแอนิเมชัน
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
โหมดสี ใน Photoshop เรื่องของสีมีความสำคัญอย่างมากในการใช้งานโปรแกรม Photoshop เพราะจะมีผลกับภาพที่เราต้องการปรับแต่งโดยตรง เราสามารถกำหนดโหมดสีใน รูปแบบต่างๆ.
3D MAX ซอฟท์แวร์ที่สนใจ น.ส.กมลชนก ดาวแดน เลขประจำตัวนิสิต
เทคนิคการถ่ายภาพ.
หน่วยส่งออก หน่วยส่งออก คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของ อักขระ ข้อความ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่งคอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ผ่านอุปกรณ์ของหน่วย.
โดยครูศกุนต์ ก้อนแก้ว
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
พื้นที่ผิวและปริมาตรทรงกลม
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
ความเป็นมา ในปัจจุบันเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทมากในชีวิตประจำวันแทบทุกด้าน รวมถึงด้านของการศึกษาด้วย ผู้เรียนส่วนใหญ่สามารถใช้คอมพิวเตอร์ได้ ผู้วิจัยจึงเห็นแนวทางที่จะพัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้มีความสอดคล้องกับเทคโนโลยีในปัจจุบัน.
หลักองค์ประกอบทางศิลปะ
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
ทรงกลม.
สื่อการสอนการเขียนเว็บเพจ ด้วยภาษา HTML
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
เทคนิคการใช้ โปรแกรมเพาเวอร์พอยต์
โลกเสมือนจริง วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
ใบสำเนางานนำเสนอ:

3D modeling การสร้างแบบจำลอง 3 มิติ

แบบจำลอง 3 มิติ แบบจำลอง 3 มิติ เป็นกระบวนการที่พัฒนามาจากคณิตศาสตร์ เรื่องพื้นพิวของวัตถุ 2 มิติ และ เรื่องเรขาคณิต แบบจำลอง 3 มิติ มีลักษณะคล้ายๆกับวิชาศิลปะ เรื่องการปั้นรูปทรงต่างๆ แบบจำลอง 3 มิติเป็นลักษณะของวัตถุ 3 มิติ ที่ใช่จุดเชื่อมต่อกับรูปเรขาคณิต

เช่น รูปสามเหลี่ยมเชื่อมต่อกับจุดของลักษณะผิวโค้ง แบบจำลอง 3 มิติ สามารถสร้าง ได้ด้วยมือ อัลกอริทิม หรือการสร้างด้วย โปรแกรมต่างๆ

Models เดี๋ยวนี้ได้มีการใช่ แบบจำลอง3มิติกันอย่างแผ่หลาย เช่น เกมส์ อุตสาหกรรม การแพทย์ การสร้างแบบจำลองอวัยวะ อุตสาหกรรมภาพยนตร์ การสร้างภาพเคลื่อนไหวเสมือนจริง การสร้างการ์ตูนอนิเมชัน อุตสาหกรรมวิทยาศาสตร์ การสร้างแบบจำลองของโมเลกุล สารเคมีต่างๆ อุตสาหกรรมสถาปัตยกรรม การออกแบบอาคาร ทิวทัศน์ ชุมชน ทางวิศวกรรม การสร้างยานพาหนะ ทางธรณีวิทยา การจำลองการเกิดพายุ คลื่นสึนามิ

แบบจำลอง 3 มิติสามารถ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท

1. Solid เป็นแบบจำลองสามมิติที่มีการสร้างเหมือนจริงมาก แต่มีการสร้าง ที่ยาก การจำลองในนี้ส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับ การสร้างวัตถุที่เป็นของแข็ง มีรูปแบบโมเลกุลมากๆ ซับซ้อน แบบจำลองทางการแพทย์และ วิศวกรรม เช่น การประยุกต์ใช้ภาพเฉพาะส่วน การสร้างภาพลักษณะของเซลล์ การสร้างสิ่งเล็กๆที่มีความซับซ้อน หรือลักษณะพื่นผิวของสิ่งต่างๆที่มีพื่นที่จำกัด

2. Shell/boundary เป็นแบบจำลองที่จำลองเปลือก หรือพื้นผิว มีลักษณะการใช้ที่ง่ายกว่า solid แบบจำลองนี้เป็นการจำลองลักษณะ ทั่วไปของวัตถุ หรือลักษณะพื่นผิวต่างๆ เช่น รูปเหลี่ยมต่างๆ ลักษณะของของเหลว แบบจำลองนี้จะไม่มีความละเอียด ซับซ้อนเท่ากับแบบจำลองอันแรก

Modeling Process กระบวนการสร้างแบบจำลอง

1. การสร้างแบบจำลอง polygonal เป็นการสร้างจุดหลายจุดเชื่อมต่อกัน จนได้ลักษณะของรูปหลายเหลี่ยม มีความ ยืดหยุ่นต่อการจำลองภาพ ทำให้คอมพิวเตอร์สามารถ ประเมินลักษณะของพื้น ผิวโค้งของวัตถุได้ง่าย โดยใช่รูปหลายเหลี่ยมเป็นตัวประมาณค่า

2 การสร้างแบบจำลองเส้นโค้ง เป็นการสร้างแบบใช้จุดเป็นตัวกำหนดลักษณะของเส้นโค้งว่าจะ มีลักษณะแบบใด โดยจะให้น้ำหนักของจุดไม่เท่ากัน หากต้องการจุดไหน โค้งมากก็จะให้น้ำหนักกับจุดนั้นมากตามไปด้วย

3. Sculpting ดิจิตอล เป็นการจำลองที่ค่อนข้างใหม่ ได้รับความนิยมใน เมื่อไม่กี่ปี เป็นการจำลองภาพ โดยการใช่วิธีกด ปั้น ดึง หรือบีบ เพื่อให้วัตุมี ลักษณะเรียบเนียน การจำลองนี้มีลักษณะคล้ายกับการปั่นดินน้ำมัน ซอฟแวร์ ของการจำลองนี้สามารถแยกออกมาได้หลายระดับ เพื่อให้มีวัตถุมีความละเอียด ที่สมจริง เสมือนวัตถุมีลักษณะเหมือนของจริง

การสร้างฉาก การสร้างฉากก็เหมือนกับการจัดเรียกวัตถุ มีการฉายไฟ และมีการบันทึกภาพ โดยจะมีการ สร้างฉาก 2แบบก็ คือสร้างฉากกับภาพนิ่งกับสร้างฉากกับ ภาพเคลื่อนไหว การให้แสงเป็นสิ่งสำคัญสำหรับการทำฉาก เพราะแสงเป็น ตัวกำหนดลักษณะที่สวยงาม

และความเป็นธรรมชาติของวัตถุ แสงมีส่วนร่วมอย่างมากที่จะตอบสนองอารมย์ ของผู้มองวัตถุนั้นๆ และสามารถสร้างจินตนาการของผู้มองได้ แสงสามารถทำ ให้เห็นสีและลักษณะของพื้นผิววัตถุ ควรใช่สีที่มีความพอดีกับวัตถุ ไม่ควรให้สีที่ฉูดฉาดจนเกินไปจะทำให้วัตถุดุไม่เป็นธรรมชาติ และการสร้างฉากจะที่มีเค้าโครงสามมิติเพื่อให้สอดคล้องกันกับตัววัตถุ

จากการศึกษา เรื่อง 3D modeling ทำให้ทราบถึงความเป็นมาของ การจำลองภาพ 3 มิติว่ามีที่มาและลักษณะของแต่ละประเภทอย่างไร โดยในเนื้อหานี้ส่วนใหญ่จะแบบออกเป็น 3 หัวข้อคือ 1. แบบจำลอง 3 มิติมีความเป็นมาอย่างไร 2. แบบจำลอง 3 มิติมีกี่ประเภท 3. การสร้างฉากจำลอง 3 มิติ ซึ่งทั้ง 3 หัวข้อนี้ก็จะมีลายละเอียดที่เจาะจง เฉพาะลงไปอีก หากมีความสนใจก็สามารถศึกษาได้จากหนังสือ หรือ สื่อ internet ต่างๆ เพิ่มเติมได้

จัดทำโดย น.ส. ปรียาภรณ์ ดีเส็ง รหัสนิสิต 52530313 กลุ่ม 3401 จัดทำโดย น.ส. ปรียาภรณ์ ดีเส็ง รหัสนิสิต 52530313 กลุ่ม 3401