แนวคิดเกี่ยวกับการวิเคราะห์เชิงปริมาณ (Quantitative Analysis) S.CHINNABUTR c:\..\qa1.ppt
การวิเคราะห์เชิงปริมาณ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการรวบรวมข้อมูลและเงื่อนไขต่างๆที่เกี่ยวข้องนำมาประเมินขึ้นเป็นตัวเลข โดยใช้หลักตรรกวิทยา คณิตศาสตร์ และสถิติ เป็นเครื่องมือแก้ปัญหาเพื่อการตัดสินใจในการปฏิบัติงาน ทั้งนี้โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะหาวิธีที่ดีที่สุดเพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ ภายในองค์กรให้ดีขึ้น S.CHINNABUTR c:\..\qa1.ppt
เอกสารประกอบการบรรยายการวิเคราะห์เชิงปริมาณครั้งที่ 1 Scientific Method Observation สามารถบ่งชี้ปัญหา (Identify Problem) และนำมาเป็นเหตุและผลในการตัดสินใจเพื่อค้นหาปัญหาในขั้นต่อไปได้ Definition of the Problem ใช้คำถามว่า “ทำไม” กับสิ่งที่สังเกตแล้วพิจารณา ความสัมพันธ์ของสิ่งที่เกี่ยวข้องทั้งหมด เพื่อการหาคำตอบในขั้นต่อไป Formulation of a Hypothesis การนำความเชื่อที่เป็นไปได้มากที่สุดตามเหตุและผลที่ได้สังเกตมาเขียนในรูปแบบความสัมพันธ์ หรือยู่ในรูปแบบจำลอง เพื่อใช้ในการศึกษาและพิสูจน์ต่อไป Experimental การทดลองภายใต้สถานการณ์ที่สามารถควบคุมได้ ถ้ามีความเป็นไปได้ก็จะมีการยอมรับและทำการสรุปผล เพื่อนำไปใช้และเผยแพร่ต่อไป Conclusion การนำผลที่ได้มาสรุปเพื่อเป็นหลักการ แนวคิด หรือทฤษฎี และนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการศึกษาขั้นสูง หรือนำไปใช้เพื่อการแก้ปัญหาและการตัดสินใจได้อย่างมีเหตุผล S.CHINNABUTR c:\..\qa1.ppt แนวคิดเกี่ยวกับการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
Observation การที่สามารถบ่งชี้ปัญหา (Identify Problems) และนำมาเป็นเหตุผลในการตัดสินใจเพื่อค้นหาปัญหา S.CHINNABUTR c:\..\qa1.ppt
Definition of the Problem “Why” รวบรวมตัวแปรต่างๆ ที่สัมพันธ์กับปัญหาเพื่อสรุปเป็นสาเหตุที่สำคัญในการหาคำตอบขั้นต่อไป S.CHINNABUTR c:\..\qa1.ppt
Formulation of a Hypothesis ความเชื่อที่เป็นไปได้มากที่สุดตามเหตุและผลที่ได้สังเกตมา อยู่ในรูปของความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผล หรือตัวแบบจำลอง (Model) S.CHINNABUTR c:\..\qa1.ppt
ได้รับการยอมรับก็สรุปผลและนำออกเผยแพร่ Experimental การทดลองใช้สถานการณ์ที่สามารถควบคุมได้ หรือการทดสอบสมมติฐาน (Testing Hypothesis) ได้รับการยอมรับก็สรุปผลและนำออกเผยแพร่ S.CHINNABUTR c:\..\qa1.ppt
Conclusion เพื่อกำหนดว่าข้อสมมติฐานนั้นสามารถสรุปเป็นหลักการและแนวคิดหรือตั้งเป็นทฤษฎีได้อย่างไร S.CHINNABUTR c:\..\qa1.ppt
Quantitative Analysis Scientific Method Research Result Quantitative Analysis Scientific Method Research Best Optimal Finding S.CHINNABUTR c:\..\qa1.ppt
เอกสารประกอบการบรรยายการวิเคราะห์เชิงปริมาณครั้งที่ 1 วิวัฒนาการ ต้นศตวรรษที่ 20 Frederic W. Tayler ได้เขียนหนังสือชื่อ “การจัดการเชิงวิทยาศาสตร์”(Scientific management) ประยุกต์กระบวนการทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม การจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ คิดค้นโดย Ferderic W. Taylor., Henry L. Gantt และครอบครัว Gilberth Henry L. Gantt ได้พัฒนาแผนภูมิสำหรับการจัดตารางการทำงานในกระบวนการผลิต S.CHINNABUTR c:\..\qa1.ppt แนวคิดเกี่ยวกับการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
การนำระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ มาใช้ในการวิเคราะห์เชิงปริมาณ S.CHINNABUTR c:\..\qa1.ppt
สามารถบ่งชี้ถึงปัจจัยที่ทำให้เกิดปัญหาและรูปแบบคำตอบที่ต้องการ Problem analysis สามารถบ่งชี้ถึงปัจจัยที่ทำให้เกิดปัญหาและรูปแบบคำตอบที่ต้องการ S.CHINNABUTR c:\..\qa1.ppt
พิจารณาปัญหาว่าสอดคล้องกับตัวแบบที่ใช้หรือไม่ Development a model พิจารณาปัญหาว่าสอดคล้องกับตัวแบบที่ใช้หรือไม่ พิจารณาข้อมูลที่เพียงพอที่จะมีในการสร้างตัวแบบและการหาตอบที่เหมาะสม S.CHINNABUTR c:\..\qa1.ppt
เก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อใช้ในการสร้างตัวแบบหรือเพื่อหาคำตอบต่อไป Collection data เก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อใช้ในการสร้างตัวแบบหรือเพื่อหาคำตอบต่อไป S.CHINNABUTR c:\..\qa1.ppt
Calculating data การใช้ศาสตร์ทางด้านคณิตศาสตร์, สถิติ, หลักการจัดการ เพื่อหาคำตอบที่เหมาะสมที่สุดสำหรับสถานการณหนึ่งๆ S.CHINNABUTR c:\..\qa1.ppt
Testing the Solution ศึกษาถึงการนำตัวแบบและคำตอบ ไปใช้ว่ามีความเป็นไปได้และเสี่ยงต่อสถานการณ์ที่จะเกิดขึ้นจริงมากน้อยเพียงใด S.CHINNABUTR c:\..\qa1.ppt
Implementation การนำตัวแบบและคำตอบที่ได้ไปใช้ในการปฏิบัติงานโดยเลือกทางเลือกที่พิจารณาแล้ววาสอดคล้องกับเงื่อนไขที่กำหนดไว้อย่างถูกต้อง S.CHINNABUTR c:\..\qa1.ppt
กระบวนการตัดสินใจในการวิเคราะห์เชิงปริมาณ S.CHINNABUTR c:\..\qa1.ppt
การวิเคราะห์ปัญหา การสร้างตัวแบบ การรวบรวมข้อมูล การหาผลลัพธ์ 1 S.CHINNABUTR c:\..\qa1.ppt
ขั้นตอน การสร้างตัวแบบ การทดสอบ ผลลัพธ์ นำไปแก้ปัญหา 1 การทดสอบ ผลลัพธ์ NO YES นำไปแก้ปัญหา S.CHINNABUTR c:\..\qa1.ppt
เอกสารประกอบการบรรยายการวิเคราะห์เชิงปริมาณครั้งที่ 1 ประโยชน์ ช่วยในการตัดสินใจในแต่ละขั้นตอนได้ตั้งแต่เริ่มลงทุนจนถึงขั้นตอน สุดท้ายในการผลิตหรือการจัดจำหน่าย ทำให้ตัดสินใจได้อย่างมั่นใจมากขึ้น S.CHINNABUTR c:\..\qa1.ppt แนวคิดเกี่ยวกับการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
ความล้มเหลวของการนำไปใช้ เอกสารประกอบการบรรยายการวิเคราะห์เชิงปริมาณครั้งที่ 1 ความล้มเหลวของการนำไปใช้ การระบุปัญหาผิด ใช้เวลามากเกินไป เสียค่าใช้จ่ายสูง เน้นทฤษฎีมากไป การระบุปัญหาผิด จากเงื่อนไขของการวิเคราะห์เชิงปริมาณและการสร้างตัวแบบ การใช้เวลามากเกินไป ส่งผลต่อความล่าช้าของโครงการอาจเกิดความล้มเหลวได้ เสียค่าใช้จ่ายสูง มีผลสะท้อนถึงผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับ เน้นทฤษฎีมากไป ควรมีการนำผลกระทบจากปัจจัยแวดล้อมภายนอกมาพิจารณา เกิดการต่อต้านจากผู้เกี่ยวข้อง ส่งผลต่อการรวบรวมข้อมูลและหาผลลัพธ์ได้ ขาดการยอมรับ /เชื่อมั่นจากผู้เกี่ยวข้อง ส่งผลกระทบต่อกิจการทั้งทางตรงและทางอ้อม S.CHINNABUTR c:\..\qa1.ppt แนวคิดเกี่ยวกับการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
ความล้มเหลวของการนำไปใช้ เอกสารประกอบการบรรยายการวิเคราะห์เชิงปริมาณครั้งที่ 1 ความล้มเหลวของการนำไปใช้ เกิดการต่อต้านจากผู้เกี่ยวข้อง ขาดการยอมรับและเชื่อมั่นจากผู้เกี่ยวข้อง S.CHINNABUTR c:\..\qa1.ppt แนวคิดเกี่ยวกับการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
ลักษณะของงานที่ใช้กับ QA แบ่งเป็น 2 ลักษณะปัญหา 1. เกิดขึ้นตามสภาพที่แน่นอน 2. เกิดขึ้นตามสภาพที่ไม่แน่นอน S.CHINNABUTR c:\..\qa1.ppt
1. เกิดขึ้นตามสภาพที่แน่นอน 1.1 ปัญหาการจัดสรรทรัพยากรที่มีจำกัดให้เป็นประโยชน์มากสุดบนหลายทางเลือก - ใช้การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear programming) { ใช้กับปัญหาขนส่ง, การมอบหมายงาน } S.CHINNABUTR c:\..\qa1.ppt
- การควบคุม + ติดตามงานที่ใช้เวลานาน และซับซ้อน - ใช้ PERT และ CPM 1.2 ปัญหาการควบคุม - การควบคุม + ติดตามงานที่ใช้เวลานาน และซับซ้อน - ใช้ PERT และ CPM ( Program Evaluation Review Technique) ( Critical Path Method ) S.CHINNABUTR c:\..\qa1.ppt
2. เกิดขึ้นตามสภาพที่ไม่แน่นอน 2.1 ปัญหาสินค้าคงเหลือ - ตัวแบบสินค้าคงคลัง (Inventory Model) 2.2 ปัญหาการรอคอย - ตัวแบบการรอคอย (Queuing Model) S.CHINNABUTR c:\..\qa1.ppt
- ทฤษฎีเกม (Game Theory) 2.4 ปัญหาการพยากรณ์ 2.3 ปัญหาการแข่งขัน - ทฤษฎีเกม (Game Theory) 2.4 ปัญหาการพยากรณ์ 2.4.1 ข้อมูลในอดีตเพียงพอที่จะพยากรณ์อนาคต - อนุกรมเวลา Box Jenkins, Markov Model S.CHINNABUTR c:\..\qa1.ppt
2.4.2ข้อมูลสิ่งที่จะพยากรณ์ถูกกำหนดโดยปัจจัยอื่น - การวิเคราห์การถดถอย (Regression Analysis) S.CHINNABUTR c:\..\qa1.ppt
เอกสารประกอบการบรรยายการวิเคราะห์เชิงปริมาณครั้งที่ 1 ข้อ 1,2,4 Exercise 1 ข้อ 1,2,4 S.CHINNABUTR c:\..\qa1.ppt แนวคิดเกี่ยวกับการวิเคราะห์เชิงปริมาณ