กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลประเมินสถานภาพและ ข้อเสนอมาตรการสร้างความเข้มแข็ง IBC ของประเทศไทย
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ขั้นตอนการเสนอแบบประเมินและพิจารณาโครงการวิจัย
กลุ่มที่ 1 สถาบันที่มี IBC
กลุ่มที่ 2 สถาบันที่ยังไม่มี IBC
กลุ่มที่ 2 สถาบันที่ยังไม่มี IBC
ยุทธศาสตร์การพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิ
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ กับ การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
ฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน กองแผนงาน 15 กุมภาพันธ์ 2553
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
27 ตุลาคม 2551 ณ ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย
สภาพแวดล้อมปัจจุบัน โลกยุคโลกาภิวัตน์ สังคม เศรษฐกิจ
กลุ่มที่ 1 การส่งเสริมสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์ข้อ 1
การตรวจสอบ การตรวจสอบ คือ กระบวนการที่เป็นระบบ
กลุ่มที่ 4 เกณฑ์ชี้วัดมาตรฐาน กลุ่มเกษตรกร ๕ ข้อ
วัตถุประสงค์การเชื่อมโยงเครือข่าย
ชื่อตัวบ่งชี้ : 5.3 มีการกำหนดแผนกลยุทธ์ที่ เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติ ( ระดับ ) 1. จุดอ่อน 1. เนื่องจากบุคลากรแต่ละคนมีภาระงานที่ต้อง รับผิดชอบหลายด้าน.
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
องค์ประกอบ/กระบวนงานด้านการคุ้มครองเด็ก ในระดับจังหวัดสมุทรสาคร
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
BRAND “ กรมควบคุมโรค ” สรุปการประชุมปฏิบัติการจัดทำสัญญนิยม 19 เมษายน 2550 ณ จังหวัดเชียงใหม่ ประชุมกรมควบคุมโรค 15 พฤษภาคม 2550.
การประชุมกลุ่มย่อย Agriculture Sector. ประเด็นเพื่อระดมสมอง 1. หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง กับการนำ GHS ไปปฏิบัติ กรมวิชาการเกษตร กรมประมง กรมปศุสัตว์
ผลการประชุมกลุ่มย่อย เรื่อง บทบาทของภาคธุรกิจใน การสนับสนุนให้นำเอา GHS ไปปฏิบัติ กลุ่มที่ 1 : บทบาทภาคธุรกิจอุตสาหกรรม นำเสนอต่อการประชุมสัมมนาระดับชาติ
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
กลุ่มที่ 4 กลุ่มจังหวัดที่ 8.1 สุราษฎร์ธานี ชุมพร ระนอง
โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ ผ่านกลไกสถานบันศึกษา
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
การบริหารคณะกรรมการความปลอดภัยฯ
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ (Diseases & Health Hazard Surveillance )
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
สรุปการประชุม เขต 10.
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
โครงการความร่วมมือในการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร คุณภาพสู่ระบบบริการสุขภาพ
จุดอ่อน คณะกรรมการศูนย์ฯ ได้รับเบี้ยประชุมน้อย ขาดสวัสดิการ
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
การบรรยายความรู้เรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา
เรื่องของการแจ้งข้อมูล ข่าวสาร ต้อง ให้ฉับไว ถูกต้อง ด้านคุณภาพการให้บริการ ความพึง พอใจต้องสำรวจให้ครบทุกหน่วยงาน ต้องพัฒนาทักษะ ความรู้ความเข้าใจ จัดระบบงานใหม่ให้สอดคล้องกับความ.
กลุ่ม ๓ (สีเขียว) วิเคราะห์สภาพปัญหา อุปสรรค และ แนวทางในการพัฒนาพรรคการเมือง ได้เป็น” สถาบันทางการเมือง” ที่เข้มแข็ง.
การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
1. การ ดำเนินงานตามกฎระเบียบ การประกันสังคม 2. ความสามารถ ในการดำเนินการ เรียกเก็บเงินได้ตามกำหนด 3. ความรวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วนใน การให้บริการ 4. การมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

จุดแข็ง (S) มีการแต่งตั้ง IBC เพื่อกำกับดูแลงานวิจัยในสถาบัน IBC มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ/ มีองค์ประกอบครอบคลุม มีการประชุมและดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง มีเครือข่ายเชื่อมโยงกับหน่วยงานอื่นๆ นักวิจัยส่วนใหญ่เข้าใจและให้ความร่วมมือ มีการให้ความรู้เกี่ยวกับผลกระทบของงานวิจัยต่อสังคม สถาบันสนับสนุนการดำเนินงานของ IBC จุดอ่อน (W) ขาดการประชาสัมพันธ์เพื่อให้ข้อมูลแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง นโยบาย กฎระเบียบ และหลักเกณฑ์มาตรฐานในการพิจารณาโครงการไม่ชัดเจน ทำให้ไม่ทราบว่าโครงการใดที่ควรส่งเข้ารับการพิจารณา กรรมการขาดอำนาจในการติดตามตรวจสอบ/ การกำกับดูแลเฝ้าระวัง ยังไม่เข้มแข็ง ไม่ครอบคลุม กรรมการมีภาระงานมาก ความสับสนในโครงสร้างทำให้มีปัญหาในการติดต่อประสานงานทั้งภายใน/ภายนอก ขาดระบบการเก็บข้อมูลงานวิจัยที่มีประสิทธิภาพ ขาดงบประมาณสนับสนุนการทำงาน โอกาส (O) การประกาศใช้ พรบ./ข้อบังคับ จะทำให้นักวิจัยมีความตื่นตัวในการทำตามกฎระเบียบมากขึ้น ทิศทางและนโยบายที่ชัดเจนของรัฐบาล/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จะสนับสนุนการทำงานและงบประมาณ ทั้งทางตรง (ผ่านกระทรวง กรมฯ) และทางอ้อม (การให้ทุน) เพิ่มโอกาสในการได้รับทุนวิจัยทั้งจากภายในและภายนอก/ ความปลอดภัยของงานวิจัยให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล การสร้างเครือข่ายวิจัยด้าน biosafety ระหว่างสถาบันและแหล่งทุน พัฒนางานและกฎหมายของประเทศร่วมกันเพื่อการยอมรับของนานาประเทศ Health concern ใน ปจบ. ทำให้เรื่องความปลอดภัยได้รับความสนใจมากขึ้น อุปสรรค (T) ความไม่เข้าใจและความกังวลของสาธารณชน อาจส่งผลให้ต่อการดำเนินงานของ IBC/ การได้รับทุนจากตปท. และการส่งออกได้ ภัยพิบัติอาจมีผลต่อการคงอยู่หรือการหลุดรอดของสัตว์ทดลอง ความรับผิดชอบที่สูงขึ้นอาจทำให้ไม่มีคนอยากเป็น IBC กฎหมาย/ระเบียบที่เกี่ยวข้องไม่ชัดเจน ครอบคลุม/ไม่มีการบังคับใช้ ทำให้นักวิจัยไม่ยื่นคำขอ พนักงานรัฐที่ทำหน้าที่ควบคุมดูแลตรวจสอบไม่เพียงพอ ขาดงบประมาณ/facility ในการวิจัย และการทำงานของ IBC ขาดการเชื่อมโยงระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (เครือข่าย IBC – Authority – ตปท.)

สิ่งที่ IBC สามารถดำเนินการได้ทันที พัฒนากลไกในการเสนอโครงการเพื่อรับการพิจารณา เสนอต่อ IBC และผ่านการพิจารณาก่อนเสนอแหล่งทุน เสนอต่อ IBC และแหล่งทุนพร้อมกัน (ส่งคู่ขนาน) พัฒนาระบบการทำงานที่มีประสิทธิภาพ ใช้ IT (E-mail) เป็นเครื่องมือในการสื่อสาร เพื่อความรวดเร็ว มีเกณฑ์ใช้ประกอบการพิจารณาโครงการเบื้องต้น พิจารณาโครงการโดยการประชุม ทำการ Share resources ระหว่างสถาบัน (จัดทำ Pool of experts)

ความต้องการจากส่วนกลาง (TBC/NBC) ความชัดเจนในร่างพรบ. Biosafety ที่จะมีการบังคับใช้ในอนาคต (เป็นตัวอ้างอิง) มาตรา 14 (9) ให้ NBC แต่งตั้ง IBC จะทำให้เกิดปัญหาในเรื่องการบริหารจัดการหรือไม่? (ปัจจุบัน IBC แต่งตั้งและดำเนินการภายใต้สถาบัน) มาตรา 24 การจัดทำบัญชีรายชื่อตามระดับความเสี่ยง ควรดำเนินการให้ทันกฎหมายบังคับใช้ เพื่อให้สามารถทำการขออนุญาตได้ตามกำหนด 120 วัน (มาตรา 107) การปรับปรุง guideline ให้สอดคล้องกับ พรบ.เพื่อป้องกันความสับสน ควรมี Accreditation ของ IBC (ตามความสมัครใจของแต่ละสถาบัน ดำเนินการโดย NBC/TBC) Workshop ประเด็นขอบเขตหน้าที่ ความรับผิดชอบของ IBC Training การประเมินโครงการสำหรับ IBC