กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
จุดแข็ง (S) มีการแต่งตั้ง IBC เพื่อกำกับดูแลงานวิจัยในสถาบัน IBC มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ/ มีองค์ประกอบครอบคลุม มีการประชุมและดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง มีเครือข่ายเชื่อมโยงกับหน่วยงานอื่นๆ นักวิจัยส่วนใหญ่เข้าใจและให้ความร่วมมือ มีการให้ความรู้เกี่ยวกับผลกระทบของงานวิจัยต่อสังคม สถาบันสนับสนุนการดำเนินงานของ IBC จุดอ่อน (W) ขาดการประชาสัมพันธ์เพื่อให้ข้อมูลแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง นโยบาย กฎระเบียบ และหลักเกณฑ์มาตรฐานในการพิจารณาโครงการไม่ชัดเจน ทำให้ไม่ทราบว่าโครงการใดที่ควรส่งเข้ารับการพิจารณา กรรมการขาดอำนาจในการติดตามตรวจสอบ/ การกำกับดูแลเฝ้าระวัง ยังไม่เข้มแข็ง ไม่ครอบคลุม กรรมการมีภาระงานมาก ความสับสนในโครงสร้างทำให้มีปัญหาในการติดต่อประสานงานทั้งภายใน/ภายนอก ขาดระบบการเก็บข้อมูลงานวิจัยที่มีประสิทธิภาพ ขาดงบประมาณสนับสนุนการทำงาน โอกาส (O) การประกาศใช้ พรบ./ข้อบังคับ จะทำให้นักวิจัยมีความตื่นตัวในการทำตามกฎระเบียบมากขึ้น ทิศทางและนโยบายที่ชัดเจนของรัฐบาล/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จะสนับสนุนการทำงานและงบประมาณ ทั้งทางตรง (ผ่านกระทรวง กรมฯ) และทางอ้อม (การให้ทุน) เพิ่มโอกาสในการได้รับทุนวิจัยทั้งจากภายในและภายนอก/ ความปลอดภัยของงานวิจัยให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล การสร้างเครือข่ายวิจัยด้าน biosafety ระหว่างสถาบันและแหล่งทุน พัฒนางานและกฎหมายของประเทศร่วมกันเพื่อการยอมรับของนานาประเทศ Health concern ใน ปจบ. ทำให้เรื่องความปลอดภัยได้รับความสนใจมากขึ้น อุปสรรค (T) ความไม่เข้าใจและความกังวลของสาธารณชน อาจส่งผลให้ต่อการดำเนินงานของ IBC/ การได้รับทุนจากตปท. และการส่งออกได้ ภัยพิบัติอาจมีผลต่อการคงอยู่หรือการหลุดรอดของสัตว์ทดลอง ความรับผิดชอบที่สูงขึ้นอาจทำให้ไม่มีคนอยากเป็น IBC กฎหมาย/ระเบียบที่เกี่ยวข้องไม่ชัดเจน ครอบคลุม/ไม่มีการบังคับใช้ ทำให้นักวิจัยไม่ยื่นคำขอ พนักงานรัฐที่ทำหน้าที่ควบคุมดูแลตรวจสอบไม่เพียงพอ ขาดงบประมาณ/facility ในการวิจัย และการทำงานของ IBC ขาดการเชื่อมโยงระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (เครือข่าย IBC – Authority – ตปท.)
สิ่งที่ IBC สามารถดำเนินการได้ทันที พัฒนากลไกในการเสนอโครงการเพื่อรับการพิจารณา เสนอต่อ IBC และผ่านการพิจารณาก่อนเสนอแหล่งทุน เสนอต่อ IBC และแหล่งทุนพร้อมกัน (ส่งคู่ขนาน) พัฒนาระบบการทำงานที่มีประสิทธิภาพ ใช้ IT (E-mail) เป็นเครื่องมือในการสื่อสาร เพื่อความรวดเร็ว มีเกณฑ์ใช้ประกอบการพิจารณาโครงการเบื้องต้น พิจารณาโครงการโดยการประชุม ทำการ Share resources ระหว่างสถาบัน (จัดทำ Pool of experts)
ความต้องการจากส่วนกลาง (TBC/NBC) ความชัดเจนในร่างพรบ. Biosafety ที่จะมีการบังคับใช้ในอนาคต (เป็นตัวอ้างอิง) มาตรา 14 (9) ให้ NBC แต่งตั้ง IBC จะทำให้เกิดปัญหาในเรื่องการบริหารจัดการหรือไม่? (ปัจจุบัน IBC แต่งตั้งและดำเนินการภายใต้สถาบัน) มาตรา 24 การจัดทำบัญชีรายชื่อตามระดับความเสี่ยง ควรดำเนินการให้ทันกฎหมายบังคับใช้ เพื่อให้สามารถทำการขออนุญาตได้ตามกำหนด 120 วัน (มาตรา 107) การปรับปรุง guideline ให้สอดคล้องกับ พรบ.เพื่อป้องกันความสับสน ควรมี Accreditation ของ IBC (ตามความสมัครใจของแต่ละสถาบัน ดำเนินการโดย NBC/TBC) Workshop ประเด็นขอบเขตหน้าที่ ความรับผิดชอบของ IBC Training การประเมินโครงการสำหรับ IBC