จิตติวัฒน์ สุประสงค์สิน สำนักงานวิจัย รพ รามาธิบดี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พิชิตโครงงานวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Advertisements

ภาระงาน กระบวนการ แหล่งข้อมูล ประเมินผล สรุป
เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ลำดับขั้นตอนการเสนอของบประมาณ (เดิม)
โดย ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ประสานงานวิชาโครงการ
ภูมิคุ้มกันของร่างกาย
การแพ้ยาข้ามกลุ่ม.
ขั้นตอนการเสนอแบบประเมินและพิจารณาโครงการวิจัย
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
การสร้างคำถาม.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากพืช
การศึกษารายกรณี.
การประเมินและวิเคราะห์หลักฐาน อรพรรณ โตสิงห์ คณะพยาบาลศาสตร์ ม มหิดล
หลักการพัฒนา หลักสูตร
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
การวางแผนและการดำเนินงานส่งเสริม
บทที่ 1. พื้นฐานความรู้ทั่วไป
การวางแผนและการดำเนินงาน
ระบบข้อสอบออนไลน์.
PDCA คืออะไร P D C A.
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัย RESEARCH METHODOLOGY : ตัวแปรการวิจัย.
การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
วิธีการทางวิทยาการระบาด
แบบประเมินก่อนเรียน แบบประเมินก่อนเรียน Part 8.
1 3 - Part 7 แบบประเมินก่อนเรียน แบบประเมินหลังเรียน.
การจัดกระทำข้อมูล.
ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง
“Backward” Unit Design?
Chapter8 การบัญชีและการวิเคราะห์งบการเงิน
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
การเขียนรายงานการวิจัย
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
การศึกษาความพึงพอใจของ
บทที่ 8 การประเมินภาวะสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของชุมชน
โครงสร้างข้อมูลคืออะไร ?
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 19 พฤษภาคม 2552
1. จุดประสงค์ของการออกแบบฐานข้อมูล
การปลูกพืชผักสวนครัว
พัฒนาการสื่อสารงานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลบ้านเขว้า
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
ใส่ชื่อเรื่องงานวิจัย กะทัดรัด มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม อย่างชัดเจน
หลักการแก้ปัญหา
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
ทบทวนความรู้เดิม (Activate Prior Knowledge)
กลุ่มgirls’generation
การใช้ฝุ่นจากกระบวนการผลิตอาหารสัตว์ เพื่อผลิตแอลกอฮอล์
นโยบายอาญาและการป้องกันอาชญากรรม
บทที่ 3 กระบวนการวิจัยตลาดและการกำหนดปัญหาการวิจัย
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การเขียนรายงานผลการวิจัย
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ALIVE NURSING RECORD ดร. วันทนา ถิ่นกาญจน์ สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์
การใช้ข้อสอบกลางในการ สอบปลายปี
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จิตติวัฒน์ สุประสงค์สิน สำนักงานวิจัย รพ รามาธิบดี Allergenicity จิตติวัฒน์ สุประสงค์สิน สำนักงานวิจัย รพ รามาธิบดี

ความเป็นไปได้ในการเป็นสารก่อภูมิแพ้ สารโปรตีนทีเกิดใหม่อาจก่อให้เกิดปฏิกิริยาภูมิแพ้ การประเมินจะเริ่มจาก แยกโปรตีน หรือ สังเคราะห์แต่พิสูจน์ได้ว่าเหมือนกัน ในกรณีนี้จำเป็นต้องคำนึงถึง เจ้าบ้านที่นำมาสังเคราะห์ด้วย ประเมินข้อมูลตามขั้นตอน

การประเมินความเป็นไปได้ แหล่งที่มาของโปรตีนใหม่ มาจาก สิ่งมีชีวิต/อาหาร ที่ก่อให้เกิดภูมิแพ้หรือไม่ ถ้าใช่ ให้ถือว่าโปรตีนนั้นก่อให้เกิดภูมิแพ้ ในกรณีที่มีแหล่งที่มาที่ทราบว่าก่อภูมิแพ้ สมควรหลีกเลี่ยง ยกเว้นแต่ว่าจะสามารถพิสูจน์ได้อย่างชัดเจนทางวิทยาศาสตร์ว่าไม่มีการนำส่วนที่อาจทำให้เกิดภูมิแพ้มาด้วย

Specific serum screening ถ้าโปรตีนมีแหล่งที่มาจากต้อตอที่อาจเกิดภูมิแพ้ได้ ควรทำการศึกษาเพื่อตรวจหา antibody ชนิด IgE ต่อโปรตีนดังกล่าวในเลือดของผู้ที่แพ้โปรตีนนั้น ควรใช้เลือดจากผู้ป่วย อย่างน้อย 8 คนพิสูจน์ ว่าไม่เป็น major allergen ใช้เลือด อย่างน้อย 24 คน พิสูจน์ว่าไม่เป็น minor allergen แม้จะได้ผลลบก็ควรทดสอบทางผิวหนัง หรือ ทกสอบแบบ ex vivo อื่นๆ

Specific serum screening ถ้าได้โปรตีนจากแหล่งที่ไม่ก่อภูมิแพ้ และ ไม่พบว่ากรดอะมิโน คล้ายสารก่อภูมิแพ้ ก็ควรทำการทดสอบ targeted serum screening หาแอนติบอดี้ ชนิด IgE ต่อโปรตีน

ความคล้ายคลึงของกรดอะมิโน ความคล้ายคลึง ระหว่าง กรดอะมิโน ของโปรตีนใหม่ และ สารที่ก่อภูมิแพ้ (FASTA, BLASTP) กรดอะมิโนที่อาจเป็น epitopes

การตรวจสอบ ถ้าลำดับกรดอะมิโน จำนวน ๘๐ ตัวขึ้นไป มีความคล้ายสารก่อภูมิแพ้มากกว่าร้อยละ๓๕ (FAO/WHO 2001) ให้ถือว่ามีโอกาสเกิดภูมิแพ้ ต้องมีการปรับปรุงตามฐานข้อมูลที่ทันสมัยที่สุด ไม่รวมการตรวจ epitope ที่ไม่มีลำดับกรดอะมิโนต่อเนื่อง แต่จับ IgE antibody ได้ ถ้าไม่พบความคล้ายคลึง ให้ทำการศึกษาขั้นอื่นๆต่อไป ถ้าพบว่ามีความคล้ายคลึง จะต้องมีการทดสอบโดยใช้เลือดจากผู้ที่ทราบว่าแพ้ต่อสารนั้นๆ หากจะมีการพัฒนาต่อไป

ความเสถียรต่อเปปซิน ถ้าพบว่าโปรตีนมีความเสถียรต่อเปปซิน แสดงว่าโปรตีนมีโอกาสเป็นสารที่ก่อภูมิแพ้ได้ ต้องทำการทดสอบให้ชัดเจนว่า โปรตีนนั้นไม่ก่อให้เกิดภูมิแพ้ตามขั้นตอน ในกรณีที่ไม่มีความเสถียรต่อ เปปซิน ก็ยังคงต้องทำการวิเคราะห์ ในขั้นตอนอื่นๆ ต่อไป จนกว่าจะพิสูจน์แน่ชัดว่าไม่ใช่

ข้อพิจารณาอื่นๆ ความเป็นไปได้ในการเป็นสารก่อภูมิแพ้ของโปรตีนยังขึ้นกับการได้รับโปรตีนในอาหาร และผลจากการแปรรูบอาหารด้วย การประเมินควรมีการพัฒนาวิธีการ และ ข้อมูลให้เหมาะสมตลอดเวลา รวมถึงการเก็บรวบรวมเลือดของผู้ที่มีอาการแพ้เพื่อไว้ในการทดสอบด้วย