กิจกรรมการสรุปบทเรียนตามภารกิจหลัก และ แผนการดำเนินการจัดการความรู้ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 23 สิงหาคม 2556 เวลา 9.30 – 12.00 น.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การสร้างห้องเรียนคุณภาพ
Advertisements

วัตถุประสงค์ พัฒนาองค์ความรู้การดำเนินงาน คบส.ให้กับ อสม. และเครือข่ายในชุมชน เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมและความเข้มแข็งให้กับเครือข่ายชุมชนที่ดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในระดับชุมชน.
ปัญหาในการสั่งงาน 1. ตัวเราเอง/หัวหน้าไม่กล้า, เกรงใจ, กลัว ต้องเชื่อมั่นตนเอง 2. ไม่รู้ขั้นตอนสั่งงานที่ดี จับประเด็นไม่ได้
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 7
อธิบายแนวคิดการจัดทำโครงงานในประเด็นต่อไปนี้
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
 การสอนแบบอภิปราย.
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
After Action Review - AAR
ความหมาย ประโยชน์ ลักษณะของทีม
Knowledge Management (KM)
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 7
บทบาทของโรงเรียน ในการนำการเปลี่ยนแปลงมาสู่ชุมชน
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
วัฒนธรรมองค์กร & การอยู่ร่วมกัน
เทคนิคการทำงานอย่างมีความสุข AAR (After Action Review)
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
การทำงานเชิงกระบวนการในชุมชน
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ และผู้นำทางวิชาการ
Communities of Practice (CoP)
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
1 การจับความรู้ที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม ของทีมทำงานรวมทั้งทบทวนและสะท้อน บทเรียนนำไปสู่การวางแผนต่อไป การให้ข้อมูลป้อนกลับอย่างเป็นระบบกับ ทีมงานในเรื่องผลการปฏิบัติ
การถอดบทเรียน หลังจากการดำเนินกิจกรรมโครงการ เสร็จสิ้นแล้ว
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
วิทยาศาสตร์ในสังคมกับการจัดการความรู้
Participation : Road to Success
และการประเมินแบบมีส่วนร่วม
Road Map KM 2551.
มาตรฐานการควบคุมภายใน
การสร้างวินัยเชิงบวก
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
การเรียนรู้ของทีม Team Learning
ข้อมูลและสารสนเทศ.
โครงการการพัฒนางานเชิงระบบ โดยกระบวนการวิจัยในงานประจำ (R2R)
ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
วิชาวิศวกรรมความรู้ - การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาองค์กร
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รูปแบบการสอน.
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
การธำรงรักษาระบบคุณภาพหลังการรับรอง
Service Profile สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 27 สิงหาคม 2551
การประสานงานและการสื่อสาร วันที่ 27 เมษายน 2553 กลุ่มที่ 1 ผู้ส่งสาร
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
หลักสูตร ศิลปะการพูดเพื่อการขาย บรรยาย โดย อาจารย์วทัญญู มุ่งหมาย
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
การถอดบทเรียน หลังจากการดำเนินกิจกรรมโครงการ เสร็จสิ้นแล้ว
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
การเรียนรู้ที่ต้องการพัฒนา
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
การประชุมครั้งที่ 4/2557 วันพุธที่ 20 สิงหาคม 2557 เวลา น. – น. ณ ห้องประชุม 3-6 มหาวิทยาลัยเกษม บัณฑิต.
การดักจับความรู้ด้วยเครื่องมือ “AAR”
แนวทางการจัดการความรู้ (Knowledge Management) ปีงบประมาณ 2558
ยินดีต้อนรับ ผู้อำนวยการกองพัสดุ และคณะ วันพุธที่ 6 สิงหาคม 2557.
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กิจกรรมการสรุปบทเรียนตามภารกิจหลัก และ แผนการดำเนินการจัดการความรู้ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 23 สิงหาคม 2556 เวลา 9.30 – 12.00 น.

การพัฒนาทักษะการสรุปบทเรียน กิจกรรมตามภารกิจหลักและการดำเนินการจัดการความรู้ ณ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ห้อง 500 23 สิงหาคม 2556 เวลา 9.30 – 12.00 น.

AAR : After Action Review คือ การประชุมกลุ่มเพื่อทบทวนการปฏิบัติภารกิจที่ได้ทำผ่านไปแล้วว่ามีผลอย่างไร และมีอะไรที่เป็นความรู้ บทเรียน และสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาการปฏิบัติในครั้งต่อไป ทั้งของตนเองและบุคคลอื่น

ประโยชน์ของ AAR 1. เกิดองค์ความรู้ได้เร็ว/ทันเวลา ทันใช้งาน ( Just in Time Learning ) 2. เกิดบรรยากาศที่ดีในการทำงาน ทำงานเป็นทีม 3. เกิดวัฒนธรรมใหม่ในการรับฟังกันและกัน ผู้ใหญ่ฟังเด็ก เด็กกล้าแสดงความเห็น 4. ข้อมูลความรู้เกิดการแพร่กระจายได้รวดเร็วจากการสื่อสารที่ดีของทีม 5. ประสิทธิผลโดยรวมขององค์กรจะสูงขึ้น ดีขึ้น

เป้าหมายของ AAR หลักการสำคัญของ AAR ยกระดับความรู้คน เพื่อยกระดับการทำงาน หลักการสำคัญของ AAR เป็นการเรียนรู้ร่วมกัน ไม่ใช่เป็นการวิจารณ์บุคคล เน้นการชื่นชม ไม่ใช่การตำหนิหรือจับผิด เลี่ยง ( ไม่มี ) การสั่งการในกระบวนการ AAR แสดงข้อมูลความคิดในมุมของตนอย่างอิสระสร้างสรรค์

สรุป 6 คำถามสำคัญใน AAR อะไรคือเป้าหมายที่เราตั้งใจอยากจะให้เกิดขึ้น ? อะไรคือสิ่งที่ทำได้ดี/เกินคาด เพราะอะไร ? อะไรคือสิ่งที่ยังทำได้ไม่ดี เพราะอะไร ? ควรจะมีการปรับปรุงในด้านใดบ้าง ? บทเรียนที่ได้/เรียนรู้อะไรจากกิจกรรมครั้งนี้ ? บทเรียนที่ได้จะนำไปพัฒนางานครั้งต่อไปอย่างไร ?

กระบวนการของ AAR 7 ขั้นตอน นัดหมาย/จัดประชุมสรุปความรู้ร่วมกันโดยเร็ว สร้างบรรยากาศที่เป็นกันเอง ไม่เคร่งเครียด ไม่…ฯ มีคุณอำนวยคอยกระตุ้น ตั้งคำถาม ดูกติกากลุ่ม มีการรวบรวมประเด็นความสำเร็จ/ให้เป็นรูปธรรม รวบรวมปัญหา/จุดอ่อนและหาสาเหตุที่ชัดเจน ร่วมกันสรุปและบันทึกความรู้ที่เกิดขึ้น นำความรู้ที่ได้รับเป็นทุนที่ดีในการทำงานต่อไป

หลักปฏิบัติในการร่วมกิจกรรม AAR ให้และรับข้อมูลป้อนกลับในบรรยากาศที่เป็นกันเอง พูด/คิด/สื่อสารเชิงบวก ไม่ตำหนิ/บ่น เปิดโอกาสให้ทุกคนแสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็น รับฟัง+ให้เกียรติ ไม่หักล้าง/กีดขวางความคิดผู้อื่น มีส่วนร่วมในสิ่งที่รู้ ไม่แสดงท่าทีเฉยๆ/ไม่อยากมีส่วนร่วม

เอกสารอ้างอิง จากหลักสูตร การพัฒนาทักษะการสรุปบทเรียน รุ่นที่ 3 โดย อ.นิพัทธ์ กานตอัมพร สถาบันเมธาฟอรั่ม