กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง
กฎหมายว่าด้วยเงินคงคลัง กฎหมายว่าด้วยงบประมาณ รัฐธรรมนูญ กฎหมายว่าด้วยเงินคงคลัง กฎหมายว่าด้วยงบประมาณ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 166 “งบประมาณรายจ่ายของแผ่นดินให้ทำเป็นพระราชบัญญัติ ถ้าพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณออกไม่ทันปีงบประมาณใหม่ ให้ใช้กฎหมายว่าด้วยงบประมาณรายจ่ายในปีงบประมาณปีก่อนนั้นไปพลางก่อน”
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 167 เอกสารที่ใช้ประกอบในการนำเสนอร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี รายการรายจ่ายงบกลาง ต้องแสดงเหตุผลและความจำเป็นในการกำหนดงบประมาณรายจ่าย งบกลางนั้นด้วย
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 167 วรรคสาม “ให้มีกฎหมายการเงินการคลังของรัฐเพื่อกำหนดกรอบวินัยการเงิน การคลัง ซึ่งรวมถึงหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการวางแผนการเงินระยะปานกลาง ... และการอื่นที่เกี่ยวข้อง ซึ่งจะต้องใช้เป็นกรอบในการจัดหารายได้ กำกับการใช้จ่ายเงินตามหลักการรักษาเสถียรภาพ พัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน และความเป็นธรรมในสังคม”
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 168 - หน้าที่ในการพิจารณาพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี ในชั้นรัฐสภา
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 169 การจ่ายเงินแผ่นดินจะกระทำได้เฉพาะที่ได้อนุญาตไว้ กฎหมายว่าด้วยงบประมาณรายจ่าย กฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ กฎหมายเกี่ยวด้วยการโอนงบประมาณ หรือ กฎหมายว่าด้วยเงินคงคลัง เว้นแต่ ในกรณีจำเป็นเร่งด่วนรัฐบาลจ่ายไปก่อนก็ได้ แต่ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กฎหมายญัตติ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 169 (ต่อ) ในกรณีเช่นว่านี้ต้องตั้งงบประมาณรายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคลังในพระราชบัญญัติโอนเงิน งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณถัดไป - ทั้งนี้ ให้กำหนดแหล่งที่มาของรายได้เพื่อชดใช้รายจ่ายที่ได้ใช้เงินคงคลังจ่ายไปก่อนแล้วด้วย
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 169 วรรคสอง ในระหว่างที่ประเทศอยู่ในภาวะสงครามหรือการรบ คณะรัฐมนตรีมีอำนาจโอนหรือนำรายจ่ายที่กำหนดไว้สำหรับหน่วยราชการหรือรัฐวิสาหกิจใดไปใช้ในรายการที่แตกต่างจากที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติ งบประมาณรายจ่ายประจำปีได้ทันที และให้รายงานรัฐสภาทราบโดยไม่ชักช้า
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 170 - เงินรายได้ของหน่วยงานของรัฐใดที่ไม่ต้องนำส่งเป็นรายได้แผ่นดิน ให้หน่วยงานของรัฐนั้นทำรายงานการรับและการให้จ่ายเงินดังกล่าวเสนอต่อ คณะรัฐมนตรีเมื่อสิ้นปีงบประมาณทุกปี และให้คณะรัฐมนตรีทำรายงานเสนอต่อสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาต่อไป - การใช้จ่ายเงินรายได้ตามวรรคหนึ่งต้องอยู่ภายในกรอบวินัยการเงิน การคลังตามหมวดนี้ด้วย
กฎหมายว่าด้วย เงินคงคลัง
พรบ.เงินคงคลัง 2491 มาตรา 1 -3 การบังคับใช้ และคำนิยามศัพท์ มาตรา 1 -3 การบังคับใช้ และคำนิยามศัพท์ มาตรา 4 การรับเงินเข้าคลัง และข้อยกเว้น มาตรา 5 เงินคงคลังบัญชี 1 และ 2 มาตรา 6 การจ่ายเงินคงคลังกรณีเงินงบประมาณ กรณีปกติและพิเศษ มาตรา 7 การจ่ายเงินคงคลังก่อนที่มีกฎหมายอนุญาตให้จ่าย มาตรา 8 การจ่ายเงินคงคลังกรณีเงินนอกงบประมาณ มาตรา 9 -11 บุคคลที่มีอำนาจสั่งจ่ายเงินคงคลัง มาตรา 12-13 การจ่าย-รับเงินคงคลัง กรณีเงินทุน/ทุนหมุนเวียน มาตรา 14 การรักษาการกฎหมาย
พรบ.เงินคงคลัง 2491 การนำเงินเข้าคลัง การจ่ายเงินจากคลัง มาตรา 4 มาตรา 13 มาตรา 8 , 12 มาตรา 6 เงินรายได้แผ่นดิน/เงินกู้ เงินนอกงบประมาณ /เงินอันไม่พึงต้องชำระ มีกฎหมายอนุญาตให้จ่าย ข้อยกเว้นไม่นำเงินส่งคลัง ชดใช้เงินคงคลัง มาตรา 6 ,7 การจ่ายเงินจากคลัง ก่อนมีกฎหมายอนุญาตให้จ่าย มาตรา 7 บัญชีที่ 1 และ 2 ณ ธปท. , บัญชีที่สนง.คลังจังหวัด มาตรา 1 -3 มาตรา 5 มาตรา 9 -11 มาตรา 14
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับเงินคงคลัง . กรมสรรพากร . กรมสรรพสามิต . กรมศุลกากร . รัฐวิสาหกิจ . ส่วนราชการ . ส่วนราชการ . รัฐวิสาหกิจ . สำนักงานบริหาร หนี้สาธารณะ . สำนักงานบริหาร หนี้สาธารณะ กรมบัญชีกลาง สำนักงบประมาณ / ธนาคารแห่งประเทศไทย ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และท้องถิ่น
กฎหมายว่าด้วย งบประมาณ
บทนำ คำนิยาม ผู้รักษาการ พรบ.วิธีการงบประมาณ 2502 มาตรา 1 - 5 บทนำ คำนิยาม ผู้รักษาการ 1. อำนาจหน้าที่ของสำนักงบประมาณ 2. ลักษณะงบประมาณ สมดุล/เกินดุล/ขาดดุล 3. การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี 4. การตั้งรายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง 5. งบประมาณที่ล่วงแล้วไปพลางก่อน 6. งบปะมาณรายจ่ายเพิ่มเติม 10. การควบคุมงบประมาณ - หลักเกณฑ์การเบิกจ่าย/เก็บรักษา/นำเงินส่งคลัง - วางระบบบัญชีให้ส่วนราชการปฏิบัติ - ประมวลบัญชีแผ่นดิน - เงินทดรองราชการ - เงินประจำงวดและการก่อหนี้ผูกพัน งบประมาณรายจ่าย - หลักเกณฑ์การนำเงินส่งคลัง เป็นรายได้แผ่นดิน และข้อยกเว้น - อำนาจในการกู้เงิน - งบประมาณรายจ่ายข้ามปี และการกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี - เงินทุนสำรองจ่ายฉุกเฉิน - รายงานการเงินแผ่นดิน - บทกำหนดโทษ จัดทำ บริหาร มาตรา 6 - 18 ควบคุม สำนักงบประมาณ ส่วนราชการ กระทรวงการคลัง มาตรา 21 - 30 มาตรา 19 - 20 7. การโอนงบประมาณข้ามส่วนราชการ 8. การโอน/เปลี่ยนแปลงเงินงบประมาณ 9. การใช้จ่ายเงินงบประมาณ งบส่วนราชการ / งบกลาง
การใช้จ่ายเงินแผ่นดิน จึงต้อง......... การใช้จ่ายเงินแผ่นดิน จึงต้อง......... เป็นไปตามกฎหมาย / ระเบียบ ฯ / มติครม. เป็นไปตามวัตถุประสงค์ โดยประหยัด ได้ผลตามเป้าหมายและคุ้มค่าเงิน เป็นไปโดยรัดกุม / เหมาะสม/ สุจริต เป็นไปเพื่อประโยชน์แก่รัฐและประชาชน
รายจ่ายตามงบประมาณจำแนกเป็น 1. รายจ่ายของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ 2. รายจ่ายงบกลาง
รายจ่ายของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ 1. งบบุคลากร 2. งบดำเนินงาน 3. งบลงทุน 4. งบเงินอุดหนุน 5. งบรายจ่ายอื่น
รายจ่ายงบกลาง (ตั้งไว้ที่บก.) 1. เงินเบี้ยหวัดบำเหน็จบำนาญ 2. เงินช่วยเหลือข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานของรัฐ 3. เงินเลื่อนเงินเดือน ปรับวุฒิข้าราชการ 4. เงินสำรอง เงินสมทบ เงินชดเชยของข้าราชการ 5. เงินสมทบของลูกจ้างประจำ 6. ค่ารักษาพยาบาล 7. ค่าใช้จ่ายการปรับเงินค่าตอบแทนบุคลากรภาครัฐ
รายจ่ายงบกลาง (ตั้งไว้ที่สงป.) 1. เงินสำรองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น 2. ค่าใช้จ่ายตามโครงการพระราชดำริ 3. ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการเสด็จพระราชดำเนินและต้อนรับประมุขต่างประเทศ
การเบิกจ่ายเงิน 1. ส่วนราชการ 2. รัฐวิสาหกิจ 3. หน่วยงานของรัฐสภา ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลยุติธรรม และศาลปกครอง 4. องค์กรตามรัฐธรรมนูญ 5. องค์การมหาชน 6. กองทุนสาธารณะที่มีฐานะเป็นนิติบุคคล 7. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 8. หน่วยงานอื่นของรัฐตามที่กฎหมายกำหนด
สวัสดีค่ะ