ภัยคุกคามรูปแบบเดิม TRADITIONAL THREATS COLD WAR ERA ยุคสงครามเย็น การจารกรรม ESPIONAGE การก่อวินาศกรรม SABOTAGE การบ่อนทำลาย SUBVERSION ผู้ดำเนินการเป็น รัฐ STATE ACTORS
การดำเนินการของฝ่ายตรงข้าม ภัยคุกคามรูปแบบเดิม การจารกรรม ความลับ วินาศกรรม สถานที่ บ่อนทำลาย บุคคล
ภัยคุกคามรูปแบบใหม่ NON – TRADITIONAL THREATS หลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียต ความพยายามจัดระเบียบโลกใหม่ของสหรัฐฯ การต่อต้านของประเทศมุสลิม ผลกระทบด้านเศรษฐกิจและสังคม ผลกระทบจากสภาวะโลก ความขัดแย้งการใช้ทรัพยากร และผลประโยชน์ของชาติ การเร่งพัฒนาประเทศและระดับความก้าวหน้า การดิ้นรนแสวงหาพื้นที่และผลประโยชน์ ผู้กระทำ STATE ACTORS และ NON–STATE ACTORS
ภัยคุกคาม การป้องกัน ภัยคุกคามรูปแบบเดิม ภัยคุกคามรูปแบบใหม่ มาตรการเชิงรับ มาตรการเชิงรุก
Six clusters of threats Kofi Annan war between States; violence within States, including civil wars, large-scale human rights abuses and genocide; poverty, infectious disease and environmental degradation; nuclear, radiological, chemical and biolagical weapons; terrorism; and transnational organized crime.
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ. ศ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ.2552 “ระเบียบ รปภ.52”
ระเบียบ รปภ.2517 การ รปภ.เกี่ยวกับบุคคล การ รปภ.เกี่ยวกับเอกสาร การ รปภ.เกี่ยวกับสถานที่ การ รปภ.ในการประชุมลับ
วิวัฒนาการทางวิชาการด้าน รปศ. พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ 2540 กำหนดให้ราชการ เปิดเผยเป็นหลัก ปกปิดเป็นข้อยกเว้น ยกเลิกการ รปภ.เกี่ยวกับเอกสารตามระเบียบ รปภ.2517 ระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ.2544
การ รปภ.แห่งชาติ หมายถึง มาตรการและการดำเนินการที่กำหนดขึ้นเพื่อพิทักษ์รักษา และคุ้มครองป้องกันสิ่งที่เป็นความลับ หน่วยงานของรัฐ จนท.ของรัฐ และทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน ให้พ้นจากการรั่วไหล การจารกรรม การก่อวินาศกรรม การบ่อนทำลาย การก่อการร้าย การกระทำที่เป็นภัยต่อความมั่นคง และผลประโยชน์แห่งรัฐ และการกระทำที่เป็นการเปิดเผยสิ่งที่เป็นความลับของทางราชการ
พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540 ในกรณีที่เห็นเป็นการสมควร หรืออย่างน้อยทุก 5 ปี ให้ นรม.จัดให้มีการทบทวนการปฏิบัติตามระเบียบนี้ การ รปภ.เกี่ยวกับบุคคล การ รปภ.เกี่ยวกับสถานที่ การ รปภ.การประชุมลับ ระเบียบ รปภ.52 พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540 ระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ.2544
ผู้รักษาการตามระเบียบฯ ให้ นายกรัฐมนตรี รักษาการตามระเบียบนี้ (ระเบียบข้อ 6)
องค์การรักษาความปลอดภัย ฝ่ายพลเรือน สำนักข่าวกรองแห่งชาติ ฝ่ายทหาร ศูนย์รักษาความปลอดภัย ฝ่ายตำรวจ กองบัญชาการตำรวจสันติบาล
“หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ” ความรับผิดชอบในการ รปภ.ภายใน หน่วยงานของรัฐ “หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ”
มีหน้าที่รับผิดชอบจัดการอบรม ให้ จนท.ของรัฐ หน่วยงานของรัฐ มีหน้าที่รับผิดชอบจัดการอบรม ให้ จนท.ของรัฐ ได้ทราบโดยละเอียดถึงความจำเป็น และมาตรการของ การ รปภ. และ อบรมเพิ่มเติมตามโอกาสอันสมควร
ภยันตรายที่เกิดจากปรากฎการณ์ทางธรรมชาติ เช่น น้ำท่วม ลมพายุ ฟ้าผ่า แผ่นดินไหว ภยันตรายที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์ 1. โดยเปิดเผย : การเดินขบวน การจลาจล 2. ไม่เปิดเผย (ทางลับ) : การจารกรรม การก่อวินาศกรรม ฯลฯ ภยันตรายที่ควรพิจารณาเกี่ยวกับสถานที่
นอกจากนี้ต้องคำนึงถึงการกระทำโดย ไม่เจตนา หรือการขาดจิตสำนึกในการ รปภ นอกจากนี้ต้องคำนึงถึงการกระทำโดย ไม่เจตนา หรือการขาดจิตสำนึกในการ รปภ. เช่น ทิ้งก้นบุหรี่ ไม่บำรุงรักษา อุปกรณ์และเครื่องใช้ไฟฟ้า
หลักการขั้นมูลฐาน “จงให้ศัตรูอยู่แต่ภายนอก” 1. ต้องมีการเฝ้าตรวจ 2. ต้องมีการพิสูจน์ทราบ 3. ต้องมีการขัดขวาง
มาตรการการ รปภ.สถานที่ เครื่องกีดขวาง ระบบแสงสว่าง เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย การควบคุมบุคคลและยานพาหนะ การจัดพื้นที่ที่มีการรักษาความปลอดภัย การป้องกันอัคคีภัย มาตรการเสริมการ รปภ. การตรวจสอบระบบ รปภ. และการรายงาน
การ รปภ.เกี่ยวกับบุคคล หัวหน้าหน่วยงานของรัฐดำเนินการ ผู้รอบรรจุแต่งตั้ง ผู้จะเข้าถึงสิ่งที่เป็นความลับของราชการ ผู้ที่มอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่สำคัญ
มาตรการ ผ่านการตรวจสอบประวัติ มีข้อมูลเสียหายให้หน่วยงานของรัฐ สั่งเลิกบรรจุ/เลิกจ้าง พบภายหลังให้ย้ายออกจากตำแหน่ง รับรองความไว้วางใจ รายงานองค์การ รปภ.
(ตอนนี้ยังไม่ประกาศ) การตรวจสอบ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์/วิธีการที่กำหนดในประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี (ตอนนี้ยังไม่ประกาศ)
ส่ง รปภ. 1 และผลการตรวจสอบ ให้องค์การรักษาความปลอดภัย หัวหน้าส่วนราชการ จัดให้มีการตรวจสอบประวัติและพฤติการณ์ โดยทำหนังสือส่ง หัวหน้า สน./สภ. ภูมิลำเนาของผู้นั้น ตรวจสอบพิมพ์ลายนิ้วมือ โดยระบุว่าตรวจสอบประกอบการบรรจุเข้ารับราชการ ส่ง รปภ. 1 และผลการตรวจสอบ ให้องค์การรักษาความปลอดภัย
ชั้นลับมาก ลับที่สุด การรหัส ร้องขอองค์การ รปภ.ให้ตรวจสอบ/พฤติการณ์ - เข้าถึงสิ่งที่เป็นความลับของทางราชการ ชั้นลับมาก ลับที่สุด การรหัส - มีพฤติการณ์ที่อาจเป็นภัยต่อความมั่นคง - จะให้ดำรงตำแหน่งที่สำคัญในหน่วยงานรัฐ
บุคคลจะพ้นภารกิจ ที่เป็นความลับ - คัดชื่อออกจากทะเบียนความไว้วางใจ - คืนข้อมูลข่าวสาร หลักฐาน - ชี้แจงไม่ให้เปิดเผยข่าวสารที่ทราบ/หลักฐาน - ลงนามในแบบบันทึกรักษาความลับ
การดำเนินการ รปภ.บุคคล ตรวจสอบประวัติ ขรก. /ลูกจ้าง ตรวจสอบประวัติ ขรก. /ลูกจ้าง กำหนดระดับความไว้วางใจ อบรม รปภ.
พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540 มาตรา 16 ระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับ ของทางราชการ พ.ศ.2544
การกำหนดชั้นความลับ ลับที่สุด TOP SECRET ลับมาก SECRET ลับ CONFIDENTIAL