การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
GES : มิติภายในด้านการพัฒนาองค์การ
Advertisements

การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
แบบฟอร์มที่ 1 สำนัก/กอง/ศูนย์ ประเด็นยุทธศาสตร์กรมฯ
เพื่อทบทวนระบบและกลไกในการประกันคุณภาพการศึกษา
การพัฒนาคุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐ บริษัท ทีซิส คอนเซาท์ จำกัด โทร Public Sector Management Quality Award สมชาติ ก้องนภา สันติกุล.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ นำไปสู่การปฏิบัติ
กรอบการนำเสนอ ส่วนที่ 2 สรุปสาระสำคัญ ส่วนที่ 1 ภาพรวม PMQA
การดำเนินการ ขั้น 1 : ◊ แต่งตั้งคณะทำงาน ◊ จัดทำแผนดำเนินการ (Roadmap) ◊ จัดประชุมชี้แจง คณะทำงานดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ควรประกอบด้วย.
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ณ ห้องประชุมลำพอง 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ผลการปฏิบัติราชการตามคำ รับรอง การปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
รายงานการประเมินตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
หมวด2 9 คำถาม.
หมวด7 15 คำถาม.
PMQA การพัฒนาองค์การตามแนวทาง การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
CS 6: การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ
การประชุมคณะกรรมการ และคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
วัตถุประสงค์ของการประชุมครั้งนี้
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ตัวชี้วัด ปี 2548 คำรับรองการปฏิบัติราชการ มิติ 1 ประสิทธิผล
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) KICK OFF.
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
Strategy Map สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร ปีงบประมาณ พ.ศ.2553
Strategy Map สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 จังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ พ.ศ ร้อยละหรือระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานโครงการปี
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ระดับพื้นฐาน (Fundamental Level )
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ Process Management
กระบวนการที่สร้างคุณค่า และ กระบวนการสนับสนุน
ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์กรและบุคลากร ให้มีขีดสมรรถนะสูงได้มาตรฐานสากล การดำเนินการพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์กร เป็นการนำเกณฑ์
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
การพัฒนา องค์การ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ตามคำรับรอง การปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
ตัวชี้วัดคุณภาพการให้บริการประชาชน
ก.พ.ร. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การเสริมสร้าง สมรรถนะองค์กรให้มีประสิทธิภาพสูง อำนาจหน้าที่ 1. ตรวจราชการ ประสานงาน เร่งรัด ติดตาม ตรวจสอบ และ ประเมินผลการปฏิบัติราชการ.
สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย มิติการพัฒนา องค์กร มิติประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ มิติประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ 1. จัดทำนโยบาย.
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ระบบข้อมูลสารสนเทศ 4.2 กระบวนงานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
วิทยาลัยป้องกันและบรรเทาสา ธารณภัย ประเด็นยุทธศาสตร์กรมฯยุทธศาสตร์ วปภ. ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การยกระดับขีด ความสามารถในการบริหารจัดการด้านการ.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ปี พ.ศ. 2552 การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award) การรายงาน การจัดทำแผนพัฒนาองค์การ หมวด1 และหมวด3 วันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2551 1 1

เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) 14.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ 12 14.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์ในการดำเนินการของส่วนราชการ ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวด 7) 4 14.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 รวม 20 2

ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 1. การวิเคราะห์และจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 2. การจัดทำตัวชี้วัดความสำเร็จของกระบวนการและผลลัพธ์ของแผนพัฒนาองค์การ 3. ดำเนินการปรับปรุงองค์กรตามแผนพัฒนาองค์การของปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 4. การประเมินองค์กรตามเกณฑ์ระดับพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เพื่อการจัดทำแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 5. การรายงานผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด 6. การตรวจประเมินจากผู้ตรวจประเมินภายนอก 3

แบบฟอร์มรายงานผลการดำเนินการ การรายงานผลตัวชี้วัดที่ 14 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ แบบฟอร์มรายงานผลการดำเนินการ แบบฟอร์มที่ 1 แบบฟอร์มแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 แบบฟอร์มที่ 2 แบบฟอร์มแสดงตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 แบบฟอร์มที่ 3 แบบฟอร์มรายงานผลการดำเนินการเมื่อเทียบกับเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน แบบฟอร์มที่ 4 แบบฟอร์มรายงานผลลัพธ์การดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ แบบฟอร์มที่ 5 แบบฟอร์มรายงานผลการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร แบบฟอร์มที่ 6 แบบฟอร์มรายงานผลการประเมินองค์กรด้วยตนเองตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน แบบฟอร์มที่ 7 แบบฟอร์มแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 แบบฟอร์มที่ 8 แบบฟอร์มรายงานผลระดับคะแนนระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 4

การใช้ เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ เพื่อการพัฒนาระบบราชการ 27 มกราคม 2552

เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) ประกอบด้วย 7 หมวด รวม 52 ประเด็น แต่ละประเด็นเป็นการมุ่งเน้นกระบวนการและระบบงานพื้นฐานที่จำเป็นเพื่อตอบสนองประเด็นต่าง ๆ ของ พรฎ. ต่าง ๆ ส่วนราชการต้องดำเนินการในแต่ละประเด็นให้ครบในทุกข้อและทุกหมวด

เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับพื้นฐาน โดยสรุป เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับพื้นฐาน โดยสรุป มีแนวทาง (มีระบบ) Dr.MP มีการนำไปใช้จริง Deploy เริ่มเกิดผล Early result มีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง มีการพัฒนา มีความก้าวหน้า เริ่มบูรณาการกับระบบงานอื่น ๆ

การนำไปใช้ ส่วนราชการประเมินตนเองภายใต้กรอบ Fundamental Level ระบุจุดที่ยังต้องพัฒนา(OFI) จัดทำแผนพัฒนาและปรับปรุงประจำปีให้สอดคล้อง โดยระบุตัวชี้วัดที่เป็นผลลัพธ์ให้ชัดเจน ดำเนินการปรับปรุงตามแผน วัดผลการปรับปรุง

Roadmap การพัฒนาองค์การ 2552 2553 2554 1 5 2 กรมด้านบริการ 3 6 4 เน้นความสำคัญกับผู้รับบริการ โดยออกแบบกระบวนงานและพัฒนาบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1 4 3 กรมด้านนโยบาย 2 6 5 เน้นความสำคัญของยุทธศาสตร์และการนำไปปฏิบัติ โดยมีระบบการวัดผลการดำเนินการที่เป็นระบบ 1 2 5 จังหวัด 4 3 6 เน้นความสำคัญของฐานข้อมูลในการผลักดันยุทธศาสตร์ภายใต้ระบบการนำองค์กรที่มีประสิทธิภาพ โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง 1 3 2 Successful Level สถาบันอุดมศึกษา 6 5 4 เน้นความสำคัญของการกำหนดทิศทางองค์กรที่ชัดเจน และการพัฒนาบุคลากรเพื่อเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง

การดำเนินงานปี2552 เป้าหมายสำนักงาน ก.พ.ร.ปี 2552 – 2554 ส่วนราชการบรรลุเป้าหมาย ปิด OFI ทุกข้อทุกหมวด (คะแนน 350) ปี2552-2554 เกณฑ์ FLจะยังไม่เปลี่ยนจะเปลี่ยนเฉพาะหมวด7 (เล่มสีชมพูใช้ 3 ปี) เกณฑ์ FL เน้นเรื่องการจัดทำแผนฯและการนำแผนไปปฎิบัติมากกว่าการเขียนรายงาน เริ่มจากWorkshop การประเมินองค์กร Yes ให้ระบุหลักฐานให้ชัดเจนในทุก bullet /No ให้ระบุประเด็นที่ขาดให้ชัดเจน

การดำเนินงานปี2552(ต่อ) หมวด 5 , 6 ,2,4 จัดทำแบบประเมินY/Nตามแบบฟอร์ม กำหนดส่งกพรภายในวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2552 (เอกสาร6/12 มค 52) กพร.จะดำเนินการต่อ ส่งคืนหมวดภายใน 6 มี.ค 2552 5. หมวด 5,6,2,4 จัดทำแบบฟอร์ม 7.1,7.2 ส่งกพร.ภายใน 27 มี.ค.2552 6. ฟอร์ม 5 ลักษณะสำคัญขององค์กร กพร.จัดทำร่างเสนอในเวทีการประชุม กำหนดการจะแจ้งให้ทราบภายหลัง 7. ฟอร์ม 6,8 กพร. จะดำเนินการต่อ 8. Application Report กพร.จัดทำร่างเสนอในเวทีการประชุม กำหนดการจะแจ้งให้ทราบภายหลัง

เข้าสู่การสมัครขอรับรางวัล PMQA “ รางวัลการพัฒนา องค์การดีเด่น” 100 พัฒนาสู่ความโดดเด่นรายหมวด 80 “รางวัลมุ่งมั้นพัฒนาองค์การดีเด่น หมวด ........” Successful Level 10 ผ่านการรับรองเกณฑ์ฯ 9 8 7 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) 6 5 4 3 2 1 หมวด 1 หมวด 2 หมวด 3 หมวด 4 หมวด 5 หมวด 6 หมวด 7

การจัดทำแผนที่มีคุณภาพหมายถึง ส่วนราชการต้องดำเนินการในแต่ละประเด็นให้ครบในทุกข้อ(ปิด FLครบทุกข้อ ทุกประเด็นที่กำหนด) แผนมีความเชื่อมโยง ตัวชี้วัดเหมาะสม สนง.ก.พ.ร.จะแต่งตั้งคณะทำงานฯเพื่อกลั่นกรองแผนฯและแจ้งผลให้ทราบกลางเดือนกุมภาพันธ์ 2552 Implementแผน 8 เดือน(กันยายน 2552)

ส่วนที่ 1 เกณฑ์ Fundamental Level ส่วนที่ 2 คำอธิบายแนวทางดำเนินการ ส่วนที่ 3 หลักเกณฑ์การพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วนสมบูรณ์ เพื่อให้ผ่านเกณฑ์ Fundamental Level

ตัวอย่างการประเมินตาม เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) เกณฑ์ หมวด 6 PM 4 ส่วนราชการต้องมีระบบรองรับภาวะฉุกเฉินต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นและมีผลกระทบต่อการจัดการกระบวนการ เพื่อให้ส่วนราชการจะสามารถดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง คำอธิบาย ส่วนราชการมีวิธีการเพื่อทำให้มั่นใจว่าระบบงานและสถานที่ทำงานมีการเตรียมพร้อมต่อภัยพิบัติ หรือ ภาวะฉุกเฉิน และระบบการเตรียมความพร้อมต่อภัยพิบัติ และภาวะฉุกเฉิน ซึ่งได้คำนึงถึงการป้องกัน การจัดการความต่อเนื่องของการดำเนินการ และการทำให้คืนสู่สภาพเดิม ภัยพิบัติ และภาวะฉุกเฉินอาจเกี่ยวข้องกับสภาพอากาศ สาธารณูปโภค ความปลอดภัย การจราจล หรือ เกิดจากภาวะฉุกเฉินในระดับท้องถิ่นหรือระดับชาติ วิธีการประเมิน ผ่าน / ไม่ผ่าน – จะผ่านต่อเมื่อทำครบทุก bullet A - แสดงแผนสำรองฉุกเฉิน เพื่อป้องกับผลกระทบกับการจัดการกระบวนการ ในกรณีที่เกิดภาวะฉุกเฉิน D - สื่อสารให้ผู้ที่เกี่ยวข้องในแผนสำรองฉุกเฉินรับทราบถึงแนวทางปฏิบัติ L - มีการทบทวนเพื่อปรับปรุงแผนสำรองฉุกเฉินให้เหมาะสมทันสมัยอยู่เสมอ I - แสดงให้เห็นความเชื่อมโยงของระบบรองรับภาวะฉุกเฉินต่อการดำเนินการ ตามพันธกิจหลักของส่วนราชการว่าจะสามารถดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง

ตัวชี้วัดที่ 14.2 ผลลัพธ์ที่ต้องมีในหมวด 7 หมวด 2(RM6) หมวด 4 (RM8.1,8.2 ,9) หมวด 5 (RM7) หมวด 6 (RM3,4)

หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ รหัส แนวทางการดำเนินการ เกณฑ์การให้คะแนน (ร้อยละ) 1 2 3 4 5 มิติด้านประสิทธิผล RM 1 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของแผนปฏิบัติการที่ส่วนราชการดำเนินการได้สำเร็จตามเป้าหมาย 60 65 70 75 80 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ RM 2 ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อการให้บริการและการดำเนินงานของส่วนราชการ 85   มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ RM 3 ร้อยละเฉลี่ยของความสำเร็จในการดำเนินการตามมาตรฐานระยะเวลาที่กำหนดของกระบวนการที่สร้างคุณค่า (จำนวน 2 กระบวนการที่ได้จัดทำคู่มือปฏิบัติงานในปี งปม. 2551 หลักฐานที่ 39) RM 4 ร้อยละเฉลี่ยของความสำเร็จในการดำเนินการตามมาตรฐานระยะเวลาที่กำหนดของกระบวนการสนับสนุน (จำนวน 2 กระบวนการที่ได้จัดทำคู่มือปฏิบัติงานในปี งปม. 2551 หลักฐานที่ 40) RM 5 กรณีส่วนราชการที่มีงบลงทุน - ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายลงทุน กรณีส่วนราชการไม่มีงบลงทุน - ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายในภาพรวม 68 92 71 93 74 94 77 95 96 RM 6 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยง

หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ รหัส แนวทางการดำเนินการ เกณฑ์การให้คะแนน (ร้อยละ) 1 2 3 4 5 มิติด้านการพัฒนาองค์กร   RM 7 ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาขีดสมรรถนะตามแผนพัฒนาขีดสมรรถนะของบุคลากร หรือแผนพัฒนาบุคลากร 60 65 70 75 80 RM 8 ร้อยละของความครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัยของฐานข้อมูลที่สนับสนุนยุทธศาสตร์อย่างน้อย 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ RM 9 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรมตามแผนการจัดการความรู้ อย่างน้อย 3 องค์ความรู้ 90 100 RM 10 ร้อยละความสำเร็จของโครงการตามนโยบายการกำกับดูแลองค์การ ที่ดีอย่างน้อยด้านละ 1 โครงการ

ปฏิทินการดำเนินการ ครั้งที่ 1 จัดทำแผนพัฒนาองค์การ แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 2551 2552 2553 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. จัดคลีนิกให้คำปรึกษาโดยสำนักงาน ก.พ.ร. การวิเคราะห์และจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 - ระบุประเภทของส่วนราชการว่ามีภารกิจหลักที่ควรกำหนดให้เป็นกรมด้านนโยบาย หรือ กรมด้านบริการ ตามขอบเขตและลักษณะของหน่วยงาน - ส่วนราชการนำโอกาสในการปรับปรุงจากผลการประเมินองค์กรด้วยตนเองและแผนปรับปรุงองค์กรของปีงบประมาณ พ.ศ. 251 มาทบทวนโดยเทียบกับเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน ครั้งที่ 1 จัดทำแผนพัฒนาองค์การ ครั้งที่ 2 เทคนิคการปรับปรุงองค์กร ครั้งที่ 3 ติดตามผลการ ปรับปรุงและแนะนำ การตรวจประเมิน 19

ปฏิทินการดำเนินการ แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 2551 2552 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 2551 2552 2553 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. - จัดทำแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 จำนวน 2 แผน 3. การจัดทำตัวชี้วัดความสำเร็จของกระบวนการและผลลัพธ์ 4. ดำเนินการปรับปรุงองค์กรตามแผนพัฒนาองค์การของปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 5. ประเมินองค์กรตามเกณฑ์ระดับพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 6. การรายงานผลการดำเนินการตามตัวชี้วัดรอบ 6 เดือน และ 12 เดือน 7. การตรวจประเมินจากผู้ตรวจประเมินภายนอก ส่ง 30 ม.ค. 52 ส่ง 30 ม.ค. 52 ส่ง 30 ต.ค. 52 20

กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร (Public Sector Development Division) กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ Change Agent Knowledge Worker Cross Functional Team

หิวแล้ว หาอะไรทานกันเถอะค่ะ coffee break หิวแล้ว หาอะไรทานกันเถอะค่ะ