โครงการ RID-CEO กลุ่มสชป. 9-14-15-16 กลุ่มทักษิณ
สมาชิกกลุ่ม ผส.ชป. 9, 14, 15, 16 ชคป. นครนายก ปราจีนบุรี สระแก้ว ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด เพชรบุรี ชุมพร ระนอง ประจวบคีรีขันธ์ สุราษฎร์ธานี พังงา ภูเก็ต กระบี่ นครศรีธรรมราช ตรัง พัทลุง สตูล สงขลา ปัตตานี ผคญ. 5, 6,7,8,9,10,11,12,13 สคญ., สบก.
การมอบอำนาจให้ผู้ว่าราชการจังหวัด (ผวจ.) ตามคำสั่งกรมฯ ที่ ข 397/45 และที่ ข 222/46
ด้านบริหารงานบุคคล - ตามคำสั่งเดิม ข 397/45, ข 222/46 - ตามคำสั่งเดิม ข 397/45, ข 222/46 - โยกย้ายระดับ 7 ลงมา ยกเว้นหัวหน้าส่วนราชการ - การให้ความดีความชอบ การสอบสวน/ลงโทษ เห็นชอบตามเดิม แต่ขอให้แจ้งกรมฯ ให้ทราบภายใน 7 วัน
ด้านบริหารงบประมาณ - งบประมาณเหลือจ่ายขอนำมาใช้ในจังหวัดให้ผู้ว่าราชการ จังหวัดอนุมัติ - งบประมาณเหลือจ่ายให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเปลี่ยนแปลงนำ มาใช้ในจังหวัดได้ - แต่ไม่เกิน 1,000,000 บาท ที่เหลือส่งกลับกรมฯ - คงเดิม
ด้านบริหารพัสดุ - จัดซื้อจัดจ้างเกินอำนาจ ชคป. ให้อยู่ในอำนาจผู้ว่าฯ - จัดซื้อจัดจ้างเกินอำนาจ ชคป. ให้อยู่ในอำนาจผู้ว่าฯ ยกเว้นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในจังหวัดเดียวกันที่ตั้ง สชป. ให้อยู่ในอำนาจ ผส.ชป. - เห็นชอบเหมือนเดิม
การสั่งการ - ให้อำนาจผู้ว่าราชการจังหวัดเสนอโครงการ นอกแผนให้ ชคป. พิจารณาและให้ ชคป. พิจารณาด้านเทคนิค (ความเป็นไปได้)
การอนุมัติ / อนุญาต - อำนาจการจัดซื้อที่ดิน (บัญชีการจ่ายเงินทดแทน) - อำนาจการจัดซื้อที่ดิน (บัญชีการจ่ายเงินทดแทน) - กรณีเกิดอุบัติภัย - การสร้างสิ่งก่อสร้างในพื้นที่ที่ไม่ขัดกับทางชลประทาน - ส่วนอำนาจการ การใช้น้ำ/การใช้พื้นที่ชลประทาน ควรอยู่ในอำนาจกรมฯ เหมือนเดิม
บทบาทอำนาจหน้าที่ของ ชคป. CEO
การวางแผน - ใช้ยุทธศาสตร์ของกรมฯ และจังหวัดเป็นหลัก ในการวางแผน วิธีการ - ร่วมวางแผนแก้ไขปัญหา การใช้ประโยชน์ร่วมกัน - การประชุม เพื่อต้องการหาข้อมูล หรือ ความต้องการแท้จริงของเกษตรกร - ตั้งศูนย์ประสานงาน
การประสานงานกับส่วนราชการและอปท. - มีการประสานงานกับส่วนราชการและ อปท. แบบเป็นทางการและไม่เป็นทางการ - วางแผนแก้ไขปัญหากับส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งกลุ่มเกษตรกรผู้ใช้น้ำ วิธีการ - ประชุม - และเปลี่ยนข้อมูล
กระบวนการการมีส่วนร่วม - กระตุ้น/เร่งเร้า ให้กลุ่มเกิดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง - ให้กลุ่มมีส่วนร่วมในการจัดการน้ำชลประทาน ก่อนก่อสร้าง ระหว่างก่อสร้าง หลังก่อสร้าง (บำรุงรักษา) วิธีการ - ประชุมกลุ่มผู้ใช้น้ำให้บ่อยขึ้น แต่ละครั้งไม่ควรใช้เวลามาก - ให้ สบ.คป. จัดทำแผนประชุมและทำกิจกรรมกลุ่มผู้ใช้น้ำ - ใช้ระบบนักประสานงานชุมชนกรมชลประทาน (ICO)
การรายงาน - ชคป.ต้องรายงานการดำเนินงานในพื้นที่ ซึ่งครอบคลุมทุกกิจกรรม - ชคป.ต้องรายงานการดำเนินงานในพื้นที่ ซึ่งครอบคลุมทุกกิจกรรม การจัดการน้ำทั้งจังหวัด ไม่ว่าจะเป็นในส่วนของ ชคป. ชคบ. ชคน. และ ชคส. รายงานให้ ผส.ชป. และผู้ว่าฯทราบทุกเดือน วิธีการ - ออกแบบฟอร์ม - ประชุมหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - เตือนให้มีการส่งรายงานมายังชลประทานจังหวัด ภายใน 5 วัน ก่อนสิ้นเดือน - ส่งรายงาน
กำหนดตัวชี้วัด - ใช้จำนวนอาคารชลประทานที่ก่อสร้างในจังหวัด - ปริมาณผลผลิต - ความพึงพอใจของเกษตรกร และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง วิธีการ - สำรวจและรวบรวมข้อมูล - รายงานข้อมูลมายังหน่วยงานต้นสังกัด
การติดตามประเมินผล - ให้แต่ละหน่วยงานในจังหวัดตั้งคณะทำงานเพื่อติดตาม ประเมินผลในพื้นที่ก่อนและหลังโครงการ โดยเน้น ประเมินผลด้านเศรษฐกิจและสังคม วิธีการ - สำรวจข้อมูล - ประมวลผลข้อมูล และรายงาน
ด้านงบประมาณ ด้านพัสดุ และด้านการมีอำนาจอนุมัติ การบริหารงานบุคคล ด้านงบประมาณ ด้านพัสดุ และด้านการมีอำนาจอนุมัติ (ให้มีอำนาจเหมือนในปัจจุบัน)
ระบบข้อมูลสารสนเทศ - ต้องจัดทำระบบฐานข้อมูล (GIS) เป็นลำดับแรก วิธีการ - รวบรวมข้อมูลพื้นฐานทางด้าน แปลงกรรมสิทธิ์ที่ดิน ของเกษตรกรในพื้นที่ ส่งน้ำ จำนวนคลองและคูส่งน้ำ ผลผลิต ประเภทดิน และอื่น ๆ - จัดหาบุคลากรที่มีความสามารถในการจัดทำระบบ
แผนภูมิการปรับโครงสร้าง ของ RID-CEO
ผวจ. สชป. สำรวจ-ออกแบบ ชคน. ชคส. ชคบ. ชคป. วิศวกรรม บริหาร ฝ่ายส่งน้ำ จัดสรรน้ำ ฝ่ายช่างกล ข้อมูลและสารสนเทศ
ขอบคุณครับ