การใช้จุลินทรีย์ EM ลดกลิ่นแอมโมเนียจากมูลสุกร ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ของเสียจากการขับถ่ายของสุกร ขับออกมาวันละ 5 % ของน้ำหนักตัว มูล 2 % ปัสสาวะ 3 % แอมโมเนีย
ผลกระทบของแอมโมเนีย ต่อคน 0.83-1.04 ppm ปลอดภัยต่อสุขภาพของคน ต่อสุกร
ตาราง ความเข้มข้นของแอมโมเนียที่มีผลกระทบต่อสัตว์ ก๊าช ความเข้มข้น(ppm) ระยะเวลา อาการ แอมโมเนีย 400 ไม่สังเกต ระคายเคืองในคอ 700 ไม่สังเกต ระคายเคืองในตา 1700 ไม่สังเกต ไอ น้ำลายฟูมปาก 3000 30 นาที หายใจไม่ออก 5000 40 นาที ตายเฉียบพลัน ที่มา : Jiang and Sands(1999 อ้างโดย ผกาพรรณ,2548)
อีเอ็มสามารถลดกลิ่นแอมโมเนียจากมูลสุกรได้ การทำบ่อแก๊สชีวภาพ ใช้อีเอ็ม อีเอ็มสามารถลดกลิ่นแอมโมเนียจากมูลสุกรได้ ระดับอีเอ็มที่เหมาะสมในการใช้ลดกลิ่น
อีเอ็มที่ใช้ในการศึกษามี 2 ลักษณะ คือ อีเอ็มขยาย อีเอ็มแบบแห้ง
การใช้อีเอ็มลดกลิ่นแอมโมเนีย ให้กิน อีเอ็มขยาย ผสมในน้ำดื่ม 1 : 1000 อีเอ็มโบกาฉิ 1 % และ 2% ผสมในอาหาร อีเอ็มซูปเปอร์โบกาฉิ 1 % ผสมในอาหาร
ที่มา :ดัดแปลงจาก ศุภวันจักร และสมชัย(2546)
ที่มา : ดัดแปลงจาก สุริยะและคณะ(2541)
การทดสอบดมกลิ่นด้วยจมูก - กลิ่นมูลสุกรที่ได้รับการเสริมอีเอ็มโบกาฉิ 2 % ในอาหารของสุกร - พบว่า แทบจะไม่มีกลิ่นแอมโมเนียเลย - การดมกลิ่นด้วยจมูก เป็นเครื่องมือที่น่าเชื่อถือได้ในเรื่องกลิ่น
การใช้อีเอ็มลดกลิ่นแอมโมเนีย (ต่อ) ฉีดพ่น อีเอ็มขยาย หัวเชื้อ(อีเอ็ม+กากน้ำตาล+น้ำ 2:2:20 ) อีเอ็มขยายผสมน้ำ 1 : 8 ฉีดพ่น 200 ลิตร/พื้นที่ 300ตารางเมตร หรือหัวเชื้อผสมน้ำ 1:50
ที่มา:ดัดแปลงจาก อัศวิน และคณะ(2539)
สรุป การเสริมอีเอ็มแบบแห้ง 1-2% ในอาหาร หรือเสริมอีเอ็มขยาย ในน้ำดื่มของสุกร 1:1000 สามารถลดปัญหาเรื่องกลิ่นแอมโมเนียได้ การใช้อีเอ็มขยายฉีดพ่นพื้นคอก ลดกลิ่นได้เช่นกัน
เสนอแนะ การศึกษาเกี่ยวกับอีเอ็มเป็นเรื่องที่ยาก เพราะอีเอ็มมีความผันแปรสูง จึงควรศึกษาหาวิธีลดการผันแปร ซึ่งจะทำให้อีเอ็มมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น