(quantitative genetics)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน

Advertisements

ค่าแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง ค่าการกระจาย ค่ามาตรฐาน
กลไกการวิวัฒนาการ.
วิชาสัมมนา ( ) เรื่อง ผลของพ่อพันธุ์ดูร็อคและพ่อพันธุ์เพียเทรนต่อสมรรถนะการเจริญเติบโต ลักษณะซากและคุณภาพเนื้อของสุกรขุน Effect of Duroc and Pietrain-sired.
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
1.7 ระเบียบวิธีทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
พันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
หลักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Chapter 3: Expected Value of Random Variable
โครโมโซม.
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
เทคนิคการประเมินผลการเรียนการสอน (การให้ระดับคะแนน:เกรด)
Probability & Statistics
แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน.
เทคนิคพื้นฐานในการปรับปรุงพันธุ์พืช
พลังงานศักย์ของระบบมีค่าเปลี่ยนแปลงตามข้อใด?
ความหลากหลายของมนุษย์ในปัจจุบัน เชื้อชาติกับวัฒนธรรม
แนวคิด พื้นฐาน ทางสถิติ The Basic Idea of Statistics.
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น … สถิติเชิงพรรณนา
ระเบียบวิธีวิจัย RESEARCH METHODOLOGY : ตัวแปรการวิจัย.
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
Menu Analyze > Correlate
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
บทที่ 5 แผนภูมิควบคุมสำหรับคุณลักษณะ
สถิติ Statistics โดย น.ท.อนุรักษ์ โชติดิลก
สถิติในการวัดและประเมินผล
ค่านิยมของสำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
DNA สำคัญอย่างไร.
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
การแจกแจงปกติ.
ความหลากหลายทางชีวภาพ
การคัดเลือกพันธุ์พืชผสมข้าม
ทบทวน เมนเดล ยีนและโครโมโซม
สถิติสำหรับการวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ ท้ายเรือคำ
ความหลากหลายทางพันธุกรรม คุณลักษณะ และ รูปแบบการถ่ายทอด
เทคนิคในการวัดความเสี่ยง
แผนการคัดเลือก สามารถแบ่งได้ดังนี้ Tandem Method
โดย ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
การบ้าน กำหนดให้ ยีน R ควบคุมการมีสีแดง ข่มยีน r ซึ่งควบคุมการมีสีขาวอย่างไม่สมบูรณ์ (co-dominant alleles) โดยโค Rr จะมีสีโรน หากฝูงโคหนึ่ง พบว่ามีสีแดงอยู่
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
บทที่ 4 การวัดการกระจาย
School of Information Communication Technology,
Chi-square Test for Mendelian Ratio
การประมาณค่าพารามิเตอร์ทางพันธุกรรมและแนวโน้มทางพันธุกรรมของสมรรถนะการเจริญเติบโตและผลผลิตไข่ในไก่พื้นเมืองไทย (ประดู่หางดำ) วุฒิไกร บุญคุ้ม, มนต์ชัย ดวงจินดา,
การประมาณกราฟการให้นมเนื่องจากอิทธิพลทางพันธุกรรม
Genetic drift Before: 8 RR 0.50 R 8 rr 0.50 r After: 2 RR 0.25 R 6 rr
การจัดการข้อมูลเพื่อทดสอบพันธุ์
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
Data Collecting for Genetic Improvement in Pig and Chicken
Population genetic พันธุศาสตร์ประชากร.
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
หลักการคัดเลือกพันธุ์สัตว์ Principle of Selection
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐาน ทางการจัดการโลจิสติกส์
อ.ดร. จิรวัฒน์ สนิทชน ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรเกษตร
Basic Statistics พีระพงษ์ แพงไพรี.
Mating System Asst.Dr.Wuttigrai Boonkum Department of Animal Science
QUIZ ก่อนเรียน เขียน ชื่อ-นามสกุล, รหัสนักศึกษา และ section
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความถี่ยีน
การคัดเลือกและ การประมาณพันธุศาสตร์ปริมาณ
Introduction to Quantitative Genetics
ใบสำเนางานนำเสนอ:

(quantitative genetics) พันธุศาสตร์ปริมาณ (quantitative genetics) จุดประสงค์ 1. เข้าใจความแตกต่างระหว่างลักษณะคุณภาพและลักษณะปริมาณ 2. เข้าใจความหมายและสามารถคำนวณหาค่าต่างๆ ต่อไปนี้ได้ ค่าเฉลี่ยของประชากร ค่า Genotypic value ค่าอิทธิพลเฉลี่ยของยีน ค่าการผสมพันธุ์ (BV) ค่าเบี่ยงเบนจากค่ากึ่งกลาง (dominance deviation) ค่าความแปรปรวน

ลักษณะปริมาณ (quantitative traits) ตัวบ่งชี้ ลักษณะคุณภาพ ลักษณะปริมาณ จำนวน loci ที่เกี่ยวข้อง 1 หรือ 2 loci > 2 loci อิทธิพลจาก สวล. ไม่มี - มีน้อย มีน้อย – มาก Variation of phenotypes ไม่ต่อเนื่อง (discontinuous) ต่อเนื่อง (continuous) คุณลักษณะของ phenotypes จัดเป็นกลุ่มได้ ชั่ง ตวง วัด Mathematical tools Probability theory สัดส่วน, ความถี่, % Probability + Variational statistics ตัวอย่าง การมีสีขน การมีเขา ลักษณะมรณะ ปริมาณนม น้ำหนัก ความสูง ADG, FCR Litter size ปริมาณไข่

ค่าเฉลี่ยประชากร (population mean, ) ค่าจริง  = p2(GAA) + 2pq(GAa) + q2(Gaa) ..1 ค่าที่แสดงในรูปความห่างจากจุดกึ่งกลาง = a(p – q) + 2pqd ..2 กรณีหลาย loci = a(p – q) + 2pqd ..3

ตัวอย่าง 1. Genotype aa Aa AA Genotypic value (น้ำนม) 2 7 8 ถ้า q=0.2 จงหา  ว่ามีค่าจริงเท่าใด? และอยู่ห่างจาก mid-point เท่าใด? และ  ที่ได้อยู่ห่างจาก aa, Aa เท่าใด?

ค่าอิทธิพลเฉลี่ยของยีน (Average effect) คือค่าเฉลี่ยอิทธิพลของยีนใดๆ (A, a) ที่มีต่อ phenotype แสดงได้ใน 2 รูปแบบ ค่าที่แสดงว่าอยู่ห่างจากจุดกึ่งกลาง ค่าที่บอกว่าอยู่ห่างจากค่าเฉลี่ยของประชากร () มากน้อยเพียงใด

ค่าที่แสดงว่าอยู่ห่างจากจุดกึ่งกลาง Average effect of A = pa + qd Average effect of a = -qa+pd ค่าที่แสดงในรูปของค่าที่ห่างจาก  (1) Average effect of gene A (1): 1 = q[a+d(q-p)] ..4 และ Average effect of gene a (2): 2 = -p[a+d(q-p)] ..5

Average effect of gene substitution (): 1 - 2 =  จะได้  = a+d(q-p) ..6 และสามารถแสดง 1 ในรูป  ได้ดังนี้ เมื่อ 1 = q[a+d(q-p)] = q ..7 และ 2 = -p ..8

Average effect of gene ห่างจุดกึ่งกลาง Average effect of gene ห่าง  Type of gamete Values and Freq. Average effect of gene ห่างจุดกึ่งกลาง Population mean Average effect of gene ห่าง  AA Aa aa a d -a A p q pa+qd a(p-q)+2pqd q[a+d(q-p)] = 1 a p q -qa+pd -p[a+d(q-p)] = 2

(Breeding value; BV)/Additive value ค่าการผสมพันธุ์ (Breeding value; BV)/Additive value BV ของสัตว์ตัวใดตัวหนึ่ง หมายถึงผลรวมของ ค่าเฉลี่ยอิทธิพลของยีนของสัตว์ตัวนั้น กรณี 1 locus ที่มี 2 alleles; A, a Genotype BV AA 21 = 2q Aa 1+ 2 = (q-p) aa 22 = -2p

อาจจะแสดงในรูปค่าเป็นหน่วยของมันโดยตรง (absolute value) ก็ได้ แต่ส่วนใหญ่จะแสดงในรูปของค่าที่เบี่ยงเบนจากค่าเฉลี่ยประชากร ดังนั้นเมื่อกล่าวถึง BV ของสัตว์ตัวหนึ่ง ต้องระบุค่าเฉลี่ยของประชากรด้วยเสมอ เมื่อ BV บ่งบอกคุณค่าพันธุกรรมที่ถูกถ่ายทอดจากพ่อ-แม่สู่ลูก ดังนั้น ค่า expected BV ของสัตว์ตัวใดๆ = ค่าเฉลี่ย BV พ่อและแม่ BVo = ½ (BVs + BVd)

Dominance deviation จาก G = A + D  D = G – A Genotypic value ของ AA ในรูปที่ห่างจากจุด mid-point คือ +a แต่ถ้าจะให้อยู่ในรูปว่าเบี่ยงเบนออกจาก population mean เท่าไร จะได้...

จะได้ = a – pop. mean = a – [a(p-q)+2pqd] = a(1-p+q) – 2pqd = 2qa – 2pqd Genotypic value AA; GAA = 2q(a – pd) หรืออาจแสดงในรูปค่า  เช่นเดียวกับค่า BV ได้ โดยการแทนค่า +a ด้วย  เมื่อ  = a + d(q-p) a =  - d(q-p)

แทนค่า a ในสมการ GAA  GAA = 2q[ -d(q-p) –pd] = 2q[ -dq+dp –pd] = 2q(-dq)  Dominance dev. ของ AA จาก  คือ DAA = GAA – BVAA = 2q(-dq) – 2q = 2q-2q2d-2q = -2q2d

และทำนองเดียวกัน Dominance deviation ของ Aa; DAa = 2pqd Dominance deviation ของ aa; Daa = -2p2d จะเห็นว่า dominance deviation เกี่ยวข้องกับ d, ถ้า d = 0 แล้ว dominance deviation ของทุก genotype = 0 = pop mean = mid-point

Genotype AA Aa aa Frequency p2 2pq q2 Values +a d -a แสดงในรูปที่เบี่ยงเบนจากค่าเฉลี่ยของประชากร: Genotypic value 2q(a-pd) 2q(-qd) a(q-p)+d(1-2pq) (q-p)+2pqd -2p(a+qd) -2p(+pd) Breeding value 2q (q-p) -2p Dominance deviation -2q2d 2pqd -2p2d

Ex3: จาก Ex.1 จงคำนวณหา Population mean (), Genotypic value (G), Breeding value (A) และ Dominance deviation (D) เมื่อ q = 0.2 q=0.2: =? AA Aa aa Freq Genotypic value (G) Breeding value (A) Dominance dev.(D)

 = a(p – q) + 2pqd = 2.44 GAA = 2q(a-pd) = GAa = a(q-p)+d(1-2pq) = Gaa = -2p(a+qd) = BVAA = 2q = DAA = -2q2d =

Interaction deviation (epistatic deviation) G = A+D+I ค่าเฉลี่ยของการเบี่ยงเบนของทุก genotypes = 0 เมื่อแสดงค่าในรูปของ deviation จาก pop mean Interaction deviation ขึ้นอยู่กับ gene freq ใน ประชากร เช่นเดียวกับ G, A และ D

ความแปรปรวน (Variance) P = G + E 2P = 2G + 2E 2 = (Xi- µ)2 N Variance component ค่าที่มาของ variance Phenotypic; 2P Phenotypic value Genotypic; 2G Genotypic value Additive; 2A Breeding value Dominance; 2D Dominance deviation Interaction; 2I Interaction deviation Environmental; 2E Environmental deviation

2P = 2G + 2E ถ้าใช้สัตว์ที่ genotype เหมือนกัน: variance ที่เกิดขึ้น คือ 2E ถ้าเลี้ยงสัตว์ที่ genotype หลากหลาย: variance ที่ เกิดขึ้นคือ 2G + 2E  ความแตกต่างของสองกลุ่มนี้คือ 2G

Ex: ไก่พื้นเมืองพันธุ์ประดู่หางดำฝูงหนึ่งรวบรวมมาจากหลายจังหวัด (mixed genotype), อีกฝูงเป็น F1 ที่เกิดจากผสมข้ามของฝูงเลือดชิด 3 สาย (สมมติ 2E ของทุก genotype มีค่าเท่ากัน) Population components observed variance ฝูง mixed genotype = 2G + 2E = 0.37 ฝูง uniform = 2E = 0.19 ผลต่าง = 2G = 0.18  2G / 2P = 0.18/0.37 = 49% 49% ของ 2P เกิดจากอิทธิพลของ genetic

Genetic components of variance 2G = 2A + 2D + 2I สาเหตุหลักที่ทำให้ญาติพี่น้องคล้ายคลึงกันหรือลูกๆ คล้ายพ่อแม่ ซึ่งเป็นพื้นฐานของการคัดเลือกพ่อแม่พันธุ์ และนิยมแยก 2A ออกจาก non-additive variance (2D+ 2I) 2A / 2P = heritability (h2) หรืออัตราพันธุกรรม

Additive & Dominance variance mean of BV & Dominance dev = 0 = pop mean Variance = value2 2A =  (BV2 x freq ของแต่ละ genotype) = 4p2q22 + 2pq(q-p)22 +4p2q22 = 2pq2 (2pq+q2-2pq+p2+2pq) = 2pq2 (p2+2pq+q2) = 2pq2 = 2pq[a+d(q-p)]2 d = 0; = 2pqa2 d = a; = 8pq3a2

 Total genetic variance; 2G = 2A + 2D = 2pq[a+d(q-p)]2 + [2pqd]2 และในทำนองเดียวกัน 2D = d2(4q4p2 + 8p3q3 + 4p4q2) = 4p2q2d2(q2+2pq+p2) = (2pqd)2 และไม่ว่า degree of dominance จะเท่าใดก็ตาม ถ้า p=q=0.5 ซึ่ง อาจเกิดได้ในประชากรที่ผสมข้ามระหว่างสายพันธุ์ที่มีเลือดชิดสูง 2A = ½ a2 2D = ¼ d2  Total genetic variance; 2G = 2A + 2D = 2pq[a+d(q-p)]2 + [2pqd]2

2G 1.4464 2A 1.0368 2D 0.4096 Ex: จากตัวอย่างเดิม q=0.2, a=3, d=2 และถ้า q = 0.5 และ 0.8 จะได้ 2G ? 2G = 2pq[a+d(q-p)]2 + [2pqd]2 = 2*0.8*0.2(1.8)2 +(2*0.8*0.2*2)2 = 1.0368 + 0.4096 q=0.2 q=0.5 q=0.8 2G 1.4464 2A 1.0368 2D 0.4096

2A ไม่ได้เกิดจากยีนที่แสดงอิทธิพลแบบ additive เท่านั้น แต่รวมถึง dominance & epistasis ด้วย เพียงแต่ว่า ถ้าพบว่า 2G = 2A เราจึงสรุปได้ว่ายีนนั้นไม่ได้แสดงแบบ dominance หรือ epistasis เมื่อมีหลาย loci เข้ามาเกี่ยวข้อง 2A ได้จากการบวกกันของ 2A ในแต่ละ locus เช่นเดียวกับ 2D และเมื่อมีมากกว่า 1 locus เข้ามาเกี่ยวข้อง จะเกิด 2I ขึ้น

Interaction variance (2I) 2I = 2AA+ 2AD + 2DD + … dominance x dominance variance additive x additive variance additive x dominance variance ในทางปฏิบัติ 2I ได้ถูกรวมเข้ากับ 2D และเรียกรวมว่า non-additive genetic variance

Environment variance (2E) ความแปรปรวนทุกอย่างที่เป็น non-genetic variance ขนาด 2E ขึ้นอยู่กับชนิดของ trait และ species ของสัตว์ ถือว่าเป็นแหล่งของความผิดพลาดในการประเมินหา 2G  เราจึงต้องพยายามลดลงให้มากที่สุด อาหารและสภาพอากาศคือแหล่ง 2E ดังนั้น ในการศษ. หา 2E ต้องจัดการให้สัตว์ทุกตัวได้รับเหมือนกัน อิทธิพลจากแม่ (maternal effect) ก็เป็นอีกแหล่งหนึ่งของ 2E