(quantitative genetics) พันธุศาสตร์ปริมาณ (quantitative genetics) จุดประสงค์ 1. เข้าใจความแตกต่างระหว่างลักษณะคุณภาพและลักษณะปริมาณ 2. เข้าใจความหมายและสามารถคำนวณหาค่าต่างๆ ต่อไปนี้ได้ ค่าเฉลี่ยของประชากร ค่า Genotypic value ค่าอิทธิพลเฉลี่ยของยีน ค่าการผสมพันธุ์ (BV) ค่าเบี่ยงเบนจากค่ากึ่งกลาง (dominance deviation) ค่าความแปรปรวน
ลักษณะปริมาณ (quantitative traits) ตัวบ่งชี้ ลักษณะคุณภาพ ลักษณะปริมาณ จำนวน loci ที่เกี่ยวข้อง 1 หรือ 2 loci > 2 loci อิทธิพลจาก สวล. ไม่มี - มีน้อย มีน้อย – มาก Variation of phenotypes ไม่ต่อเนื่อง (discontinuous) ต่อเนื่อง (continuous) คุณลักษณะของ phenotypes จัดเป็นกลุ่มได้ ชั่ง ตวง วัด Mathematical tools Probability theory สัดส่วน, ความถี่, % Probability + Variational statistics ตัวอย่าง การมีสีขน การมีเขา ลักษณะมรณะ ปริมาณนม น้ำหนัก ความสูง ADG, FCR Litter size ปริมาณไข่
ค่าเฉลี่ยประชากร (population mean, ) ค่าจริง = p2(GAA) + 2pq(GAa) + q2(Gaa) ..1 ค่าที่แสดงในรูปความห่างจากจุดกึ่งกลาง = a(p – q) + 2pqd ..2 กรณีหลาย loci = a(p – q) + 2pqd ..3
ตัวอย่าง 1. Genotype aa Aa AA Genotypic value (น้ำนม) 2 7 8 ถ้า q=0.2 จงหา ว่ามีค่าจริงเท่าใด? และอยู่ห่างจาก mid-point เท่าใด? และ ที่ได้อยู่ห่างจาก aa, Aa เท่าใด?
ค่าอิทธิพลเฉลี่ยของยีน (Average effect) คือค่าเฉลี่ยอิทธิพลของยีนใดๆ (A, a) ที่มีต่อ phenotype แสดงได้ใน 2 รูปแบบ ค่าที่แสดงว่าอยู่ห่างจากจุดกึ่งกลาง ค่าที่บอกว่าอยู่ห่างจากค่าเฉลี่ยของประชากร () มากน้อยเพียงใด
ค่าที่แสดงว่าอยู่ห่างจากจุดกึ่งกลาง Average effect of A = pa + qd Average effect of a = -qa+pd ค่าที่แสดงในรูปของค่าที่ห่างจาก (1) Average effect of gene A (1): 1 = q[a+d(q-p)] ..4 และ Average effect of gene a (2): 2 = -p[a+d(q-p)] ..5
Average effect of gene substitution (): 1 - 2 = จะได้ = a+d(q-p) ..6 และสามารถแสดง 1 ในรูป ได้ดังนี้ เมื่อ 1 = q[a+d(q-p)] = q ..7 และ 2 = -p ..8
Average effect of gene ห่างจุดกึ่งกลาง Average effect of gene ห่าง Type of gamete Values and Freq. Average effect of gene ห่างจุดกึ่งกลาง Population mean Average effect of gene ห่าง AA Aa aa a d -a A p q pa+qd a(p-q)+2pqd q[a+d(q-p)] = 1 a p q -qa+pd -p[a+d(q-p)] = 2
(Breeding value; BV)/Additive value ค่าการผสมพันธุ์ (Breeding value; BV)/Additive value BV ของสัตว์ตัวใดตัวหนึ่ง หมายถึงผลรวมของ ค่าเฉลี่ยอิทธิพลของยีนของสัตว์ตัวนั้น กรณี 1 locus ที่มี 2 alleles; A, a Genotype BV AA 21 = 2q Aa 1+ 2 = (q-p) aa 22 = -2p
อาจจะแสดงในรูปค่าเป็นหน่วยของมันโดยตรง (absolute value) ก็ได้ แต่ส่วนใหญ่จะแสดงในรูปของค่าที่เบี่ยงเบนจากค่าเฉลี่ยประชากร ดังนั้นเมื่อกล่าวถึง BV ของสัตว์ตัวหนึ่ง ต้องระบุค่าเฉลี่ยของประชากรด้วยเสมอ เมื่อ BV บ่งบอกคุณค่าพันธุกรรมที่ถูกถ่ายทอดจากพ่อ-แม่สู่ลูก ดังนั้น ค่า expected BV ของสัตว์ตัวใดๆ = ค่าเฉลี่ย BV พ่อและแม่ BVo = ½ (BVs + BVd)
Dominance deviation จาก G = A + D D = G – A Genotypic value ของ AA ในรูปที่ห่างจากจุด mid-point คือ +a แต่ถ้าจะให้อยู่ในรูปว่าเบี่ยงเบนออกจาก population mean เท่าไร จะได้...
จะได้ = a – pop. mean = a – [a(p-q)+2pqd] = a(1-p+q) – 2pqd = 2qa – 2pqd Genotypic value AA; GAA = 2q(a – pd) หรืออาจแสดงในรูปค่า เช่นเดียวกับค่า BV ได้ โดยการแทนค่า +a ด้วย เมื่อ = a + d(q-p) a = - d(q-p)
แทนค่า a ในสมการ GAA GAA = 2q[ -d(q-p) –pd] = 2q[ -dq+dp –pd] = 2q(-dq) Dominance dev. ของ AA จาก คือ DAA = GAA – BVAA = 2q(-dq) – 2q = 2q-2q2d-2q = -2q2d
และทำนองเดียวกัน Dominance deviation ของ Aa; DAa = 2pqd Dominance deviation ของ aa; Daa = -2p2d จะเห็นว่า dominance deviation เกี่ยวข้องกับ d, ถ้า d = 0 แล้ว dominance deviation ของทุก genotype = 0 = pop mean = mid-point
Genotype AA Aa aa Frequency p2 2pq q2 Values +a d -a แสดงในรูปที่เบี่ยงเบนจากค่าเฉลี่ยของประชากร: Genotypic value 2q(a-pd) 2q(-qd) a(q-p)+d(1-2pq) (q-p)+2pqd -2p(a+qd) -2p(+pd) Breeding value 2q (q-p) -2p Dominance deviation -2q2d 2pqd -2p2d
Ex3: จาก Ex.1 จงคำนวณหา Population mean (), Genotypic value (G), Breeding value (A) และ Dominance deviation (D) เมื่อ q = 0.2 q=0.2: =? AA Aa aa Freq Genotypic value (G) Breeding value (A) Dominance dev.(D)
= a(p – q) + 2pqd = 2.44 GAA = 2q(a-pd) = GAa = a(q-p)+d(1-2pq) = Gaa = -2p(a+qd) = BVAA = 2q = DAA = -2q2d =
Interaction deviation (epistatic deviation) G = A+D+I ค่าเฉลี่ยของการเบี่ยงเบนของทุก genotypes = 0 เมื่อแสดงค่าในรูปของ deviation จาก pop mean Interaction deviation ขึ้นอยู่กับ gene freq ใน ประชากร เช่นเดียวกับ G, A และ D
ความแปรปรวน (Variance) P = G + E 2P = 2G + 2E 2 = (Xi- µ)2 N Variance component ค่าที่มาของ variance Phenotypic; 2P Phenotypic value Genotypic; 2G Genotypic value Additive; 2A Breeding value Dominance; 2D Dominance deviation Interaction; 2I Interaction deviation Environmental; 2E Environmental deviation
2P = 2G + 2E ถ้าใช้สัตว์ที่ genotype เหมือนกัน: variance ที่เกิดขึ้น คือ 2E ถ้าเลี้ยงสัตว์ที่ genotype หลากหลาย: variance ที่ เกิดขึ้นคือ 2G + 2E ความแตกต่างของสองกลุ่มนี้คือ 2G
Ex: ไก่พื้นเมืองพันธุ์ประดู่หางดำฝูงหนึ่งรวบรวมมาจากหลายจังหวัด (mixed genotype), อีกฝูงเป็น F1 ที่เกิดจากผสมข้ามของฝูงเลือดชิด 3 สาย (สมมติ 2E ของทุก genotype มีค่าเท่ากัน) Population components observed variance ฝูง mixed genotype = 2G + 2E = 0.37 ฝูง uniform = 2E = 0.19 ผลต่าง = 2G = 0.18 2G / 2P = 0.18/0.37 = 49% 49% ของ 2P เกิดจากอิทธิพลของ genetic
Genetic components of variance 2G = 2A + 2D + 2I สาเหตุหลักที่ทำให้ญาติพี่น้องคล้ายคลึงกันหรือลูกๆ คล้ายพ่อแม่ ซึ่งเป็นพื้นฐานของการคัดเลือกพ่อแม่พันธุ์ และนิยมแยก 2A ออกจาก non-additive variance (2D+ 2I) 2A / 2P = heritability (h2) หรืออัตราพันธุกรรม
Additive & Dominance variance mean of BV & Dominance dev = 0 = pop mean Variance = value2 2A = (BV2 x freq ของแต่ละ genotype) = 4p2q22 + 2pq(q-p)22 +4p2q22 = 2pq2 (2pq+q2-2pq+p2+2pq) = 2pq2 (p2+2pq+q2) = 2pq2 = 2pq[a+d(q-p)]2 d = 0; = 2pqa2 d = a; = 8pq3a2
Total genetic variance; 2G = 2A + 2D = 2pq[a+d(q-p)]2 + [2pqd]2 และในทำนองเดียวกัน 2D = d2(4q4p2 + 8p3q3 + 4p4q2) = 4p2q2d2(q2+2pq+p2) = (2pqd)2 และไม่ว่า degree of dominance จะเท่าใดก็ตาม ถ้า p=q=0.5 ซึ่ง อาจเกิดได้ในประชากรที่ผสมข้ามระหว่างสายพันธุ์ที่มีเลือดชิดสูง 2A = ½ a2 2D = ¼ d2 Total genetic variance; 2G = 2A + 2D = 2pq[a+d(q-p)]2 + [2pqd]2
2G 1.4464 2A 1.0368 2D 0.4096 Ex: จากตัวอย่างเดิม q=0.2, a=3, d=2 และถ้า q = 0.5 และ 0.8 จะได้ 2G ? 2G = 2pq[a+d(q-p)]2 + [2pqd]2 = 2*0.8*0.2(1.8)2 +(2*0.8*0.2*2)2 = 1.0368 + 0.4096 q=0.2 q=0.5 q=0.8 2G 1.4464 2A 1.0368 2D 0.4096
2A ไม่ได้เกิดจากยีนที่แสดงอิทธิพลแบบ additive เท่านั้น แต่รวมถึง dominance & epistasis ด้วย เพียงแต่ว่า ถ้าพบว่า 2G = 2A เราจึงสรุปได้ว่ายีนนั้นไม่ได้แสดงแบบ dominance หรือ epistasis เมื่อมีหลาย loci เข้ามาเกี่ยวข้อง 2A ได้จากการบวกกันของ 2A ในแต่ละ locus เช่นเดียวกับ 2D และเมื่อมีมากกว่า 1 locus เข้ามาเกี่ยวข้อง จะเกิด 2I ขึ้น
Interaction variance (2I) 2I = 2AA+ 2AD + 2DD + … dominance x dominance variance additive x additive variance additive x dominance variance ในทางปฏิบัติ 2I ได้ถูกรวมเข้ากับ 2D และเรียกรวมว่า non-additive genetic variance
Environment variance (2E) ความแปรปรวนทุกอย่างที่เป็น non-genetic variance ขนาด 2E ขึ้นอยู่กับชนิดของ trait และ species ของสัตว์ ถือว่าเป็นแหล่งของความผิดพลาดในการประเมินหา 2G เราจึงต้องพยายามลดลงให้มากที่สุด อาหารและสภาพอากาศคือแหล่ง 2E ดังนั้น ในการศษ. หา 2E ต้องจัดการให้สัตว์ทุกตัวได้รับเหมือนกัน อิทธิพลจากแม่ (maternal effect) ก็เป็นอีกแหล่งหนึ่งของ 2E