สื่อการสอนเรื่องแรงบนตัวนำ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ห้องปฏิบัติการวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง
Advertisements

สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชา ฟิสิกส์ เรื่อง คลื่น ระดับช่วงชั้นที่ 4
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
ไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current)
CHAPTER 9 Magnetic Force,Materials,Inductance
5.5 The Method of images เมื่อเราทราบว่าผิวตัวนำคือ ผิวสมศักย์ ดังนั้นถ้าอ้างอิงในผิวสมศักย์มีศักย์อ้างอิงเป็นศูนย์ จะสามารถหาศักย์ไฟฟ้าที่จุดใดๆ โดยใช้วิธีกระจก.
8.4 Stoke’s Theorem.
ทราบนิยามของ Flux และ Electric Flux Density
Conductors, dielectrics and capacitance
Chapter 7 Poisson’s and Laplace’s Equations
2.5 Field of a sheet of charge
คอยล์ ( coil ) สมพล พัทจารี วิศวกรรมไฟฟ้า.
การวิเคราะห์ความเร็ว
ตัวเก็บประจุ ( capacitor )
Welcome to Electrical Engineering KKU.
Chapter 8 The Steady Magnetic Field
9.7 Magnetic boundary conditions
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
โมเมนตัมและการชน.
Electromagnetic Wave (EMW)
Physics II Unit 5 ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า และ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ.
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
Physics II Unit 5 Part 2 วงจร RLC.
วันนี้เรียน สนามไฟฟ้า เส้นแรงไฟฟ้า
กระแสไฟฟ้า Electric Current
ENCODER.
MAGNATICALLY COUPLED CIRCUITS
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
Electric force and Electric field
เวกเตอร์ (Vectors) 1.1 สเกลาร์และเวกเตอร์
เทคโนโลยีพลังงาน Solar storm (Communication)
พฤติกรรมพลวัตมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
บทที่ 4 การแปรสภาพพลังงานกลไฟฟ้า
โสตทัศนูปกรณ์ประเภทเครื่องเสียง
การจำลองการทำงานของมอเตอร์ Mono Pole Motor
ตัวเหนี่ยวนำ (Inductor)
ความหมายและชนิดของคลื่น
หม้อแปลง.
การแปรผันตรง (Direct variation)
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)*
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
หน่วยที่ 3 คุณลักษณะสมบัติของ RLC
เตาไฟฟ้า.
หมวดเครื่องใช้ไฟฟ้า : ลำโพง รายวิชา วิทยาศาสตร์
สรุปสาระเวทีประชุม โรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพครั้งที่ 7.
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด
สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
Magnetic Particle Testing
สายสัมพันธ์ไฟฟ้า-แม่เหล็ก
กฤษ เฉยไสย วิชัย ประเสริฐเจริญสุข อังคณา เจริญมี
หลักการกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
หน่วยที่ 1 บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
นาย วิภาสวิชญ์ ชัชเวช ปวช . 2 แผนก อิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด แผนก อิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัย เทคนิคมาบตาพุด.
การวิเคราะห์แบบลูป ตอนที่ ๑ การวิเคราะห์ลูปแบบทั่วไป
มหัศจรรย์แห่งอะตอม 1 ตอน 1 โครงสร้างอะตอม อ.ถนอมจิตต์ เสนมา ร.ร.เตรียมอุดมศึกษา.
เทคโนโลยีมีความสัมพันธ์กับศาสตร์อื่นๆ โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์
ตุ๊กตามหัศจรรย์ Magic doll
DC motor.
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
กลุ่ม คาวาอี้ ~~ จัดทำโดย ชั้น ม.4.11 นางสาว กรรณิการ์ ใจวัง เลขที่ 7
ตอนที่ ๒ เรื่องการวิเคราะห์โนด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สื่อการสอนเรื่องแรงบนตัวนำ

เรื่องการเกิดแรงบนตัวนำ นายสรายุธ ทองกอบเหมือน เครื่องกลไฟฟ้า 1 เรื่องการเกิดแรงบนตัวนำ นายธวัช เกิดชื่น นายสรายุธ ทองกอบเหมือน หน้าที่ 1

สนามแม่เหล็กพุ่งเข้า การเกิดแรงบนตัวนำ แรงที่เหนี่ยวนำเกิดขึ้นบนตัวนำเป็นพื้นฐานให้กับเครื่องกลไฟฟ้าชนิดหมุน แรงดังกล่าวนี้จะเกิดขึ้นเมื่อมีองค์ประกอบ สนามแม่เหล็ก ตัวนำไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าในตัวนำ สนามแม่เหล็ก สนามแม่เหล็กพุ่งเข้า หน้าที่ 2

การเกิดแรงบนตัวนำ สนามแม่เหล็กพุ่งออก หน้าที่ 2 แรงที่เหนี่ยวนำเกิดขึ้นบนตัวนำเป็นพื้นฐานให้กับเครื่องกลไฟฟ้าชนิดหมุน แรงดังกล่าวนี้จะเกิดขึ้นเมื่อมีองค์ประกอบ สนามแม่เหล็ก ตัวนำไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าในตัวนำ สนามแม่เหล็ก สนามแม่เหล็กพุ่งออก หน้าที่ 2

การเกิดแรงบนตัวนำ หน้าที่ 2 แรงที่เหนี่ยวนำเกิดขึ้นบนตัวนำเป็นพื้นฐานให้กับเครื่องกลไฟฟ้าชนิดหมุน แรงดังกล่าวนี้จะเกิดขึ้นเมื่อมีองค์ประกอบ สนามแม่เหล็ก ตัวนำไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าในตัวนำ สนามแม่เหล็ก ตัวนำไฟฟ้า หน้าที่ 2

การเกิดแรงบนตัวนำ หน้าที่ 2 แรงที่เหนี่ยวนำเกิดขึ้นบนตัวนำเป็นพื้นฐานให้กับเครื่องกลไฟฟ้าชนิดหมุน แรงดังกล่าวนี้จะเกิดขึ้นเมื่อมีองค์ประกอบ สนามแม่เหล็ก ตัวนำไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าในตัวนำ สนามแม่เหล็ก ตัวนำไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าในตัวนำ หน้าที่ 2

จะได้ขนาดและทิศทางของแรงตามสมการ F = i(l x B) B เป็นค่าความหนาแน่น สนามแม่เหล็ก (Wb./m2) B F l i เป็นกระแสไฟฟ้า l เป็นความยาวของตัวนำ (m) ให้ทิศทางตามกระแสไฟฟ้า i หน้าที่ 3

z B F y x l ตามทิศทาง i แรงในรูปของเวคเตอร์จะได้ดังนี้ F ตามหัวแม่มือ ทิศทางของผลคูณแบบไขว้ ใช้กฎมือขวากำ นิ้วทั้ง 4 เริ่ม จาก l ไปหา B จะได้แรง F ตามหัวแม่มือ z B F y x l ตามทิศทาง i หน้าที่ 4

ขนาด และทิศทางเป็นตามสมการ สรุปเรื่อง การเกิดแรงบนตัวนำต้องอาศัยองค์ประกอบสามสิ่งคือ สนามแม่เหล็ก ตัวนำไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าในตัวนำ สนามแม่เหล็ก ตัวนำไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าในตัวนำ ขนาด และทิศทางเป็นตามสมการ F = i(l x B) หน้าที่ 5