คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
Advertisements

안녕하세요. ( อัน-นยอง-ฮา-เซ-โย )
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
1.7 ระเบียบวิธีทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
การวิจัย RESEARCH.
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
(Statistical Package for the Social Sciences : SPSS)
เทคนิคการประเมินผลการเรียนการสอน (การให้ระดับคะแนน:เกรด)
Probability & Statistics
บทที่ 6 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์
แนวคิด พื้นฐาน ทางสถิติ The Basic Idea of Statistics.
Graphical Methods for Describing Data
มาตรฐานการวัด คุณภาพตัวชี้วัด และ สถิติ
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น … สถิติเชิงพรรณนา
ศึกษาความพึงพอใจของผู้บริหารและครูต่อสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา โดย เสมา แสนยากร.
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
Menu Analyze > Correlate
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
การตัดสินใจเบื้องต้น : สถิติเบื้องต้น (Introduction to statistics)
สถิติ Statistics โดย น.ท.อนุรักษ์ โชติดิลก
สถิติในการวัดและประเมินผล
การศึกษาความพึงพอใจของ
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
วิธีการตรวจสอบ Content Validity
Criterion-related Validity
คุณภาพเครื่องมือวิจัย
สหสัมพันธ์ (correlation)
การออกแบบการวิจัย (Research Design)
สถิติเบื้องต้นสำหรับงานระบาดวิทยา Statistics for Epidemiology
การแจกแจงปกติ.
สถิติสำหรับการวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ ท้ายเรือคำ
หลักสูตรพัฒนาความสามารถในการสร้างเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
นางเจริญสุข ผ่องภักดี
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
บทที่ 4 การวัดการกระจาย
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 3 เรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2 แผนกช่างอุตสาหกรรม.
ผู้วิจัย อาจารย์วิโรจน์ เด่นวานิช
การวัดและประเมินผล การเรียนรู้
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
นางสาวพิชญาภา อิ่มประไพ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ (MBAC)
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์โดยใช้ชุดการสอน ในรายวิชาสุนทรียศาสตร์เบื้องต้น ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์กราฟิก ผู้วิจัย อาจารย์ปนัดดา วรกานต์ทิ
วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง การวิเคราะห์ข้อมูล DATA ANALYSIS โดย ดร.ผดุงชัย ภู่พัฒน์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

การเขียนรายงานการวิจัย คำถามการวิจัย แหล่งข้อมูล เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูล การเขียนรายงานการวิจัย

2. การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1. การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ 2. การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ

การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ วิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) แบบสร้างข้อสรุป

การวิเคราะห์ข้อมูลแบบข้อสรุป การนำข้อมูลที่เป็นข้อความบรรยาย(Descriptive) ที่ได้ลงสรุปให้อยู่ ในรูปของ…...….. การจดบันทึก

การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) การนำข้อมูลที่เป็นข้อความบรรยาย(Descriptive) ที่ได้มาพยายามแปลงให้อยู่ ในรูปของ…...….. จำนวนที่นับได้

การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ประเภทของสถิติ สถิติเชิงบรรยาย สถิติเชิงสรุปอ้างอิง

(Descriptive Statistics) ใช้บรรยายลักษณะของประชากร 1. สถิติเชิงบรรยาย (Descriptive Statistics) ใช้บรรยายลักษณะของประชากร หรือตัวอย่างที่ศึกษาเท่านั้น โดยไม่สามารถ นำผลการวิเคราะห์ไปสรุปหรืออ้างอิง หรือพยากรณ์ไปยังกลุ่มอื่นได้

สถิติเชิงบรรยาย 1. การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 2. การวัดการกระจาย 3. การวัดความสัมพันธ์

(Inferential Statistics) 2. สถิติเชิงสรุปอ้างอิง (Inferential Statistics) เป็นสถิติที่ใช้ในการประมาณค่า คาดคะเน สรุปอ้างอิงจากกลุ่มตัวอย่างไปยังประชากร ที่ต้องการศึกษาทั้งหมด

สถิติประเภทนี้ได้แก่ การประมาณค่า การทดสอบสมมติฐาน

1. การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง ค่าเฉลี่ย (Mean) หมายถึง ค่าตรงกลางที่เป็น ตัวแทนของข้อมูลชุดนั้น

กรณีที่1 ข้อมูลไม่ได้แจกแจงความถี่ ข้อมูลเป็นประชากร μ μ แทน ค่าเฉลี่ย แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด แทน จำนวนข้อมูล μ N

ข้อมูลเป็นกลุ่มตัวอย่าง แทน ค่าเฉลี่ย แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด แทน จำนวนข้อมูล

2.1 พิสัย(Range) 2. การวัดการกระจาย พิสัย = 19 - 6 = 13 2. การวัดการกระจาย 2.1 พิสัย(Range) พิสัย = คะแนนสูงสุด - คะแนนต่ำสุด คะแนนสอบ 19, 15, 14, 6, 18, 17, 8, 9 พิสัย = 19 - 6 = 13

2.2 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ข้อมูลเป็นประชากร σ σ

ข้อมูลเป็นกลุ่มตัวอย่าง

3. การวัดความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ หมายความว่า ความสอดคล้องหรือความเกี่ยวข้องกันระหว่างตัวแปร 2 ตัวหรือมากกว่า 2 ตัว

Pearson Correlation

Spearman’s Rank Correlation แทน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างอันดับแบบสเปียร์แมน แทน ผลต่างของอันดับแต่ละคู่ แทน จำนวนกลุ่มตัวอย่างหรือจำนวนคู่

สถิติเชิงสรุปอ้างอิง เปรียบเทียบความแตกต่างของระดับตัวแปร การทดสอบ t การทดสอบ F

รูปแบบการทดลอง แบบการทดลองที่ 1 ใช้กลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียว และมีการวัดผลการทดลอง 1 ครั้ง X O1

แนวทางการวิเคราะห์ กำหนดเกณฑ์ เปรียบเทียบระหว่างค่าเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่คำนวณได้ กับเกณฑ์

สูตร

แบบการทดลองที่ 2 ใช้กลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียว มี การวัดผล 2 ครั้ง คือ ก่อนและหลังการทดลอง O1 X O2

t = SD ; df = n - 1 แนวทางการวิเคราะห์ เปรียบเทียบระหว่างค่าเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนการทดลองใช้นวัตกรรมกับ หลังการทดลองใช้นวัตกรรม t = SD ; df = n - 1 nSD2 - (SD)2 n - 1

แบบการทดลองที่ 3 ใช้กลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มมี การวัดผล 1 ครั้ง คือ หลังการทดลอง กลุ่มทดลอง X O1 กลุ่มควบคุม ~X O2

กรณีที่ 1:

กรณีที่ 2:

ส ส สวัสดี วั วั ส ส ดี ดี