การพัฒนาระบบการจัดการคุณภาพน้ำบริโภค ขององค์กรปกครองท้องถิ่น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2548
Advertisements

ตัวชี้วัดระดับกรม อย. ประเด็น ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ผู้ดำเนินการ
GES : มิติภายในด้านการพัฒนาองค์การ
ยุทธศาสตร์ การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
คำอธิบาย ความสำเร็จของการจัดการข้อมูลสินค้าและบริการ
ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด : 1. นายสืบพงษ์ ไชยพรรค ผู้อำนวยการกองแผนงาน
ไม่ต้องจัดหา ต้องดูด้านคุณภาพ เป็นการสร้างเสริมปกป้อง สุขภาพของสาธารณะ.
การพัฒนาระบบสารสนเทศ : ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
แผนการขับเคลื่อน พันธะสัญญาคนอีสาน
การทำรายงานสรุปคุณภาพน้ำประจำปี
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
ตัวชี้วัดตามคำรับรองของ กพร. กรมส่งเสริมสหกรณ์
ผลงาน ความรู้ ความคิดของผู้เรียน ทักษะ การปฏิบัติ ของผู้เรียน คุณลักษณะ ค่านิยม คุณธรรม ของผู้เรียน.
เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548
โครงการ น้ำดื่มสะอาดปลอดภัย ในโรงเรียน
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
การบูรณาการขับเคลื่อนตามความร่วมมือด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ในภาคกลาง
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
คำรับรองการปฏิบัติราชการ สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
การประชุมคณะกรรมการ และคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ตัวชี้วัดการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
ตัวชี้วัด :3.2 ระดับความสำเร็จในการแก้ไขเรื่อง ร้องเรียนจากประชาชน / ผู้รับบริการ โดย กองกลาง สำนักปลัด กรุงเทพมหานคร น้ำหนัก คะแนน : โดยนำผลคะแนนรวมในขั้นตอนที่
ร้อยละความสำเร็จของการนำองค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์การไปสู่การปฏิบัติ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
การเก็บข้อมูลสู่ฐานข้อมูลและ การนำไปใช้กรณีตัวอย่างข้อมูลจากปะเหลียน
กรอบแนวคิดและแนวดำเนินงาน สำนักพัฒนากิจกรรมนักเรียน
ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาบริการผู้ป่วยโรคจิตให้เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นในพื้นที่ เป้าหมาย จำนวนผู้ป่วยโรคจิตที่เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ.
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
แนวทางการประเมินผลงาน ทางวิชาการ
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี ปี 2556
ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
การจัดการค่า กลาง. ค่ากลางคือ อะไร ? %100% 65 การยกระดับคุณภาพของแผนงาน / โครงการ * โดยใช้ค่ากลาง ความถี่ สูงสุด % งา น บริเวณค่า.
ความสำเร็จของการทำงานอนามัยแม่และเด็ก
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
ร้อยละ ความสำเร็จของ การดำเนินการ จัดการความรู้ใน หน่วยงาน.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
ภายใต้กรอบแนวคิดการพัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ
หัวข้อย่อย 1. ปัญหาที่เกิดขึ้นมีสาเหตุมาจากอะไร 2. ส่งผลกระทบต่อสิ่งใดบ้าง 3. มีวิธีการแก้ไขอย่างไร 4. หากไม่ใช้คลอรีนในการฆ่าเชื้อโรคในน้ำดื่ม ควรเลือกใช้อะไรแทน.
1. การตรวจประเมินสถานที่ผลิตอาหาร Primary GMP 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง 1.1 ตรวจประเมินสถานที่ผลิต - ดำเนินการร่วมกับทีม PGMP ระดับอำเภอ - สถานที่ผลิตที่ได้รับอนุญาตแล้ว.
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
ข้อเสนอโครงการ ภายใต้กรอบแนวคิดการ พัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุน การตัดสินใจ จัดทำโดย หน่วยงาน หน่วยงาน การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย.
ระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหาร ระบบการจัดการน้ำบริโภค ของ
การบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. ปี 2558
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2558
สถานีวิจัยทดสอบพันธ์สัตว์นครพนม 30 มิถุนายน 2557
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
ระบบข้อมูลสารสนเทศ 4.2 กระบวนงานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ระดับกระทรวง / กลุ่มภารกิจ / กรม
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
การใช้ข้อสอบกลางในการ สอบปลายปี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาระบบการจัดการคุณภาพน้ำบริโภค ขององค์กรปกครองท้องถิ่น นางสาวนัยนา หาญวโรดม สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ

ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ ปี พ.ศ.2553

เหตุผลความจำเป็น เป็นบทบาทและหน้าที่รัฐ ต้องส่งเสริมให้ประชาชนมีน้ำสะอาด สำหรับเป็นน้ำดื่มและใช้อย่างเพียงพอ ข้อกฎหมาย - พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 มาตรา 8 (1) กำหนดให้ องค์การบริหารส่วนตำบล จัดทำกิจการ “ให้มีน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค และ การเกษตร” - พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 มาตรา 51(1), มาตรา 53(1) และมาตรา 56(1) ให้เทศบาลตำบล เทศบาลเมือง เทศบาลนคร จัดทำกิจการใดๆเพื่อ “ให้มีน้ำสะอาดหรือการ ประปา”

แนวทางการดำเนินงานพัฒนาระบบ การจัดการคุณภาพน้ำบริโภค ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ/คณะทำงาน สำรวจ/วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของ อปท. วางแผนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพน้ำบริโภค น้ำบริโภคครัวเรือน (น้ำฝน,น้ำบรรจุขวด,น้ำตู้หยอดเหรียญ) น้ำประปา

พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่/ผู้ดูแลระบบประปา แนวทางการดำเนินงานพัฒนาระบบ การจัดการคุณภาพน้ำบริโภค ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ต่อ) พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่/ผู้ดูแลระบบประปา ปรับปรุงระบบประปา สุ่มเก็บตัวอย่างน้ำครั้งที่ 1 ไม่ผ่าน ผ่าน สุ่มเก็บตัวอย่างน้ำครั้งที่ 2 ไม่ผ่าน ผ่าน

แนวทางการดำเนินงานพัฒนาระบบ การจัดการคุณภาพน้ำบริโภค ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ต่อ) ขอรับการรับรอง ประชาสัมพันธ์ เฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง

สุ่มเก็บตัวอย่างน้ำบริโภค แนวทางการดำเนินงานพัฒนาระบบ การจัดการคุณภาพน้ำบริโภค ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ต่อ) เผยแพร่ความรู้/ประชาสัมพันธ์/ประชุม/อบรมพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการผลิตน้ำดื่ม/เจ้าหน้าที่ สุ่มเก็บตัวอย่างน้ำบริโภค แต่ละประเภท ไม่ผ่าน ผ่าน เฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง

สรุปผลการประเมินการรับรองคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ด้านการจัดการคุณภาพน้ำบริโภค สำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ขั้นตอนการดำเนินงาน คะนนเต็ม คะนนที่ได้ หมายเหตุ 1. กำหนดผู้รับผิดชอบ 5 2. สำรวจ/รวบรวมข้อมูลแหล่งน้ำบริโภค 15 3. วางแผนพัฒนาการจัดหาน้ำสะอาดหรือการปรับปรุงคุณภาพน้ำบริโภค 4. พัฒนาศักยภาพ 5. ตรวจสอบคุณภาพน้ำ 10 6. จัดการเรื่องร้องเรียน 7. สื่อสารสาธารณะ 8. ยกระดับการพัฒนาระบบการจัดการน้ำบริโภค 8.1 พัฒนาคุณภาพน้ำประปาเป็นน้ำประปาดื่มได้ 8.2 พัฒนาคุณภาพน้ำบริโภคประเภทอื่นๆ 20 รวม 100

ผ่าน : คะแนนรวมไม่น้อยกว่า 60 คะแนน

เกณฑ์การประเมินการพัฒนาระบบการจัดการคุณภาพน้ำบริโภค ระดับความสำเร็จ พื้นฐาน ปานกลาง ก้าวหน้า 1.ระบบประปา มีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานตาม ข้อกำหนดการรับรองน้ำประปาดื่มได้ 30 50 100 สัดส่วนครัวเรือนเข้าถึงน้ำบริโภคที่ คุณภาพอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ในเขตเมือง ร้อยละ ในเขตชนบท ร้อยละ 20 65 35 80

แบบรายงานผลการดำเนินงาน แบบรายงานผลการดำเนินงาน การจัดการคุณภาพน้ำบริโภคของ อปท. ศูนย์อนามัยที่.............. เป้าหมาย อปท. เข้าร่วมดำเนินงาน ........... แห่ง ผู้รายงาน ............................................ โทร. .................... ลำดับ จังหวัด ชื่ออปท.   จำนวนประปา ที่ให้บริการ มีการอบรม ผู้ดูแลระบบประปา ผลคุณภาพน้ำประปา ผลคุณภาพน้ำบริโภค มี ไม่มี ครั้งที่1 ครั้งที่2 น้ำบรรจุขวด น้ำตู้หยอดเหรียญ น้ำฝน น้ำบ่อ หมายเหตุ : ผลตรวจคุณภาพน้ำ ∕ หมายถึง ตรวจคุณภาพน้ำและผ่านเกณฑ์ , × หมายถึง ตรวจคุณภาพน้ำและไม่ผ่านเกณฑ์ , - หมายถึง ไม่มีการตรวจคุณภาพน้ำ

แบบสรุปผลการดำเนินงาน แบบสรุปผลการดำเนินงาน การจัดการคุณภาพน้ำบริโภคของ อปท. ศูนย์อนามัยที่ ........ จำนวน อปท.เข้าร่วมโครงการทั้งหมด .............. แห่ง จำนวนผลสำเร็จ ............ แห่ง ผู้รับผิดชอบ .......................................................... โทร. .................... ลำดับ จังหวัด จำนวนผลสำเร็จ(แห่ง) หมายเหต เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลตำบล อบต. รวม

จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ