การดำเนินงานพัฒนา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขนาดใหญ่/ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง (รพ.สต./ศสม.) จังหวัดเลย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System : DHS)
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ความหมายและกระบวนการ
การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติรอบที่ 1 ปีงบประมาณ จังหวัดสุรินทร์
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
โดย ทันตแพทย์หญิงภารณี ชวาลวุฒิ โรงพยาบาลสวนปรุง
โรงพยาบาลสวนสราญรมย์
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กลไกการสนับสนุนการ ดำเนินงาน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพ ตำบล และ การพัฒนาระบบรับ - ส่งต่อแบบ บูรณาการ 2552.
สรุปการประชุม เขต 10.
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ไข้เลือดออก.
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
1. เสือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
ตัวชี้วัดงานอาชีวอนามัย ความสำเร็จการประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล ปี 2555 ร้อยละของความสำเร็จ การประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล.
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล และระบบสารสนเทศ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
ประจำเดือนมกราคม 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
กลุ่มงานทันตสาธารณสุข สสจ.เลย
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
สาขาโรคมะเร็ง.
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
บูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
ได้รับจัดสรรวงเงิน 3,218,091. เกณฑ์การจัดสรรสัดส่วน (%) วงเงิน ( 3,218,091 ) 1. ประชากร30 965, ผลงาน70 2,252,664 แนวทางการจัดสรร งบ P4P จ.กระบี่
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค.
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การดำเนินงานพัฒนา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขนาดใหญ่/ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง (รพ.สต./ศสม.) จังหวัดเลย

ตัวชี้วัดจังหวัด ตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข : ร้อยละ รพ.สต./ศสม.ผ่านเกณฑ์ 6 ข้อ ร้อยละ 80 ตัวชี้วัดตรวจราชการ : ร้อยละ รพ.สต./ศสม.ผ่านเกณฑ์ 6 ข้อ ร้อยละ 60

ตัวชี้วัด จำนวน 6 ตัว 1. มีระบบข้อมูลสุขภาพ pt ในพื้นที่เชื่อมโยงกับ รพ.แม่ข่าย 2. OP Visit รพ.สต./ศสม. เทียบกับ รพ.แม่ข่าย > 60 : 40 3. บริการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันพื้นฐาน (EPI, ANC, Pap,Screen NCD) 4. ร้อยละประชากรที่ต้องดูแลพิเศษ ได้รับการเยี่ยมบ้านตามมาตรฐาน ร้อยละ 80 5. มีบริการตรวจวินิจฉัยทางห้อง lab และระบบส่งต่อไปตรวจ รพ.แม่ข่าย 6. ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยง DM/HTได้รับการดูแล 6.1 ร้อยละ DM/HT ลงทะเบียนที่ รพ.สต.เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 6.2 ร้อยละ DM/HT ใน รพ.แม่ข่ายส่งกลับไปดูแลที่ รพ.สต./ศสม.เพิ่มขึ้น 6.3 ร้อยละกลุ่มเสี่ยง DM/HT ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยใช้แบบเฝ้าระวังพฤติกรรม (ของกองสุขศึกษา) ร้อยละ 60

เป้าหมาย ปี 2555 (10 แห่ง) เป้าหมาย จำนวน (แห่ง) ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง (ศสม.) 3 แห่ง : รพ.เลย 2 แห่ง รพร.ด่านซ้าย 1 แห่ง รพ.สต.ขนาดใหญ่ 7 แห่ง : อ.เมือง 3 แห่ง อ.วังสะพุง 4 แห่ง หมายเหตุ : รพร.ด่านซ้ายดำเนินการตามนโยบายการสร้าง รพ.สต.คุณภาพแม่แบบ

ผลการพัฒนาตามตัวชี้วัด รพ.สต./ศสม. จังหวัดเลย (ข้อมูลเดือนเมษายน 2555) ผลการดำเนินพัฒนาตามตัวชี้วัด ( / ผ่าน, x ไม่ผ่าน ) รวมจำนวนตัวชี้วัด ที่ผ่าน (ข้อ) ตัวชี้วัดที่ 1 ตัวชี้วัดที่ 2 ตัวชี้วัดที่ 3 ตัวชี้วัดที่ 4 ตัวชี้วัดที่ 5 ตัวชี้วัดที่ ๖ ตัวชี้วัดที่ 6.1 ตัวชี้วัดที่ 6.2 ตัวชี้วัดที่ 6.3 รพ.สต.นาอาน อ.เมือง / X 3 รพ.สต.นาอ้อ อ.เมือง รพ.สต.เพชรเจริญ อ.เมือง 4 รพ.สต.ทรายขาว อ.วังสะพุง 6 รพ.สต.เหมืองแบ่ง อ.วังสะพุง รพ.สต.โนนสว่าง อ.วังสะพุง รพ.สต.โคกสว่าง อ.วังสะพุง ศสม.กุดป่อง รพ.เลย ศสม.สุขศาลา รพ.เลย ศสม.ด่านซ้าย หมายเหตุ : จ.เลย หน่วยบริการ ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 40 (เม.ย. 55)

ข้อพิจารณาตัวชี้วัดที่ยังไม่ผ่าน หัวข้อ หน่วยบริการ 2 OP Visit นาอาน,นาอ้อ,เพชรเจริญ,กุดป่อง,สุขศาลา 3 บริการส่งเสริมสุขภาพ กุดป่อง (ไม่มี ANC,EPI), สุขศาลา (ไม่มีบริการโรคเรื้อรัง) 4 การดูแลกลุ่มพิเศษ (ร้อยละ80) นาอาน (64.8),นาอ้อ (20.6),ด่านซ้าย (14.4) 6.1 ลงทะเบียน DM/HT ในรพ.สต./ศสม. เพิ่ม ร้อยละ10 นาอาน (0.7),นาอ้อ (1.4),เพชรเจริญ (0), กุดป่อง (1.3),สุขศาลา (-),ด่านซ้าย (.43) 6.2 ผู้ป่วย DM/HT ใน รพ.แม่ข่าย ส่งกลับเพิ่มขึ้น สุขศาลา 6.3 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยใช้แบบเฝ้าระวัง (ร้อยละ 60) นาอาน (23.3), นาอ้อ(19.1), เพชรเจริญ (36.2), ด่านซ้าย (34.03), รพ.เลย (ยังไม่มีการดำเนินงาน)

หมายเหตุ รพ.สต. CUP เมือง ไม่ผ่านตัวชี้วัดที่ 6.1 เนื่องจากมีการส่งกลับผู้ป่วย DM/HT ที่ควบคุมได้ มาแล้วก่อนปี 2555 รพ.สต. CUP วังสะพุง ผ่านข้อ 6.1,6.2 เพราะไม่มีการส่งกลับ pt DM/HT มาก่อน (เริ่ม เดือน เมษายน 2555)