ทพ.สันติ ศิริวัฒนไพศาล 21 กันยายน 2555

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Health Promotion & Prevention
Advertisements

การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
ความคาดหวังของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติต่อการติดตามประเมินผล
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
การจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพ ในเขตสุขภาพ
นโยบายการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อขับเคลื่อนการคลังภาคสุขภาพ
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ประชุมกรรมการบริหารศูนย์
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
นพ. จักรกริช โง้วศิริ ผจก. กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
สรุปการประชุม เขต 10.
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
นโยบายด้านบริหาร.
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
ค่าบริการแพทย์แผนไทยปีงบ 2556
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
การบริหารงบค่าเสื่อม ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2555
หลักเกณฑ์การจัดสรร งบสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี 2557
ยุทธศาสตร์การเสริมพลัง
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
กรอบการบริหารงบบริการ การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ปีงบประมาณ 2557
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
สกลนครโมเดล.
ได้รับจัดสรรวงเงิน 3,218,091. เกณฑ์การจัดสรรสัดส่วน (%) วงเงิน ( 3,218,091 ) 1. ประชากร30 965, ผลงาน70 2,252,664 แนวทางการจัดสรร งบ P4P จ.กระบี่
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทพ.สันติ ศิริวัฒนไพศาล 21 กันยายน 2555 กรอบการบริหารค่าใช้จ่าย ทันตกรรมส่งเสริมป้องกันและทันตกรรมประดิษฐ์ ปี 2556 ทพ.สันติ ศิริวัฒนไพศาล 21 กันยายน 2555

กรอบแนวคิดการบริหารกองทุนทันตกรรม 1. เพิ่มความร่วมมือ ในการพัฒนาระบบและการจัดบริการทันตกรรมระหว่างหน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้องโดยให้ความสำคัญกับบทบาทของมหาวิทยาลัยและภาคเอกชนเพิ่มมากขึ้น 2. มีแผนยุทธศาสตร์ ด้านทันตสาธารณสุขระดับประเทศ แผนพัฒนาระบบและการจัดบริการทันตกรรม (Service Plan) ระดับจังหวัดและแผนให้บริการทันตสาธารณสุขที่จำเป็น ของแต่ละ คปสอ.ใหม่โดยทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมเป็นเจ้าของ 3. ทุกจังหวัดมีการดำเนินการตามแผนพัฒนาระบบและการบริการทันต กรรม (Service Plan) และมีระบบข้อมูลที่สนับสนุนการบริหารระบบ 4. การสนับสนุนการผลิต พัฒนาศักยภาพและการกระจายทันตบุคลากร สู่หน่วยบริการระดับปฐมภูมิโดยเฉพาะ รพ.สต.อย่างจริงจัง 5. การดำเนินงานทันตสาธารณสุขผสมผสานกับงานอนามัยอื่นๆ ในศูนย์เด็กเล็ก โรงเรียนอนุบาล และโรงเรียนประถมศึกษาอย่างเข้มข้น และนักเรียนได้รับบริการทันตกรรม Comprehensive care อย่างทั่วถึง กรอบแนวคิดการบริหารกองทุนทันตกรรม

วัตถุประสงค์ 1.เพื่อควบคุมสภาวะสุขภาพช่องปากในกลุ่มเด็กปฐมวัยและเด็กประถมศึกษาโดยบูรณาการงานสร้างเสริมสุขภาพช่องปากป้องกันโรค และรักษาทางทันตกรรม 2.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดูแลสุขภาพช่องปากในกลุ่มหญิง ตั้งครรภ์ 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุเข้าถึงบริการทันตกรรมประดิษฐ์ (ฟันเทียม)ได้อย่างทั่วถึง อันจะส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุให้ดีขึ้น

ตัวชี้วัด เด็กชั้น ป.1ในพื้นที่ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก (เกณฑ์ประเมิน) ร้อยละ..70 เด็กชั้น ป.1ได้รับการบริการทันตกรรมผสมผสาน(comprehensive care) ตามแผนการรักษา (เกณฑ์ประเมิน)ร้อยละ..20. จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการใส่ฟันเทียม 45,000 ราย

แนวทางการบริหาร การบริหารจัดการ 1.1 ระดับเขต มีคณะทำงานทันตสาธารณสุขระดับเขตเป็นกลไกลในการบริหารจัดการ 1.2 ระดับจังหวัด มีคณะทำงานทันตสาธารณสุขระดับจังหวัด เป็นกลไกลในการบริหารจัดการ และปรับเกลี่ยงบประมาณ 1.3 ระดับ CUP บริหารโดยการมีส่วนร่วมของ คปสอ. แบบใหม่ 2) ส่งเสริม Public-Private Mix เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการ ทันตกรรมประดิษฐ์และทันตกรรมส่งเสริมป้องกันในเด็กนักเรียนได้อย่างครอบคลุม 3) เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการโดยบูรณาการงบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกันร่วมกับกองทุนย่อยอื่นที่จะลงสู่พื้นที่

แผนผังการจัดสรรค่าบริการ P&P ปี 2556 (1) NPP & Central procurement (25.72 บ./คน) (2) PPE (124.96 บ./คน) (3) PPA (57.40 บ./คน) (4) สนับสนุนและส่งเสริม (7.68 บ./คน) (5) ทันตกรรมส่งเสริม (16.60 บ./คน) CUP/สถานพยาบาล P&P Capitation ( 232.36 บาท x ปชก. ทุกสิทธิ 65.404 ล้านคน) คำนวณจาก 313.70 บาท/ปชก.UC 48.445 ล้านคน หักเงินเดือน กองทุนฯท้องถิ่น (40.00 บ./คน) Capitation+ Workload (99.96 บ./คน) Quality Performance (25.00 บ./คน) จังหวัด/เขต (17.40 บ./คน+ส่วนที่เหลือจากการจัดสรรกองทุนฯท้องถิ่น) กรณี สปสช.เขต 13 (กรุงเทพมหานคร) ให้สามารถบูรณการการบริหารงบ PPE และ PPA เพื่อให้เกิดผลผลิต ผลลัพธ์ตามที่กำหนด เนื่องจากไม่มีสาขาจังหวัดและบริบทพื้นที่แตกต่าง

แผนผังการจัดสรรค่าใช้จ่ายทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน 2556 ปชก. ทุกสิทธิ 65.404 ล้านคน บริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน 16.60 บ./ปชก.ทุกสิทธิ งบบริการทันตสุขภาพ ≥95% 15.80 บ/ปชก.ทุกสิทธิ งบสนับสนุนและส่งเสริม การจัดบริการ ≤5% 0.80 บ/ปชก.ทุกสิทธิ บริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากระดับจังหวัด 11% 1.72 บ/ปชก.ทุกสิทธิ บริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากระดับ CUP 89% 14.08 บ./ปชก.ทุกสิทธิ

การบริการทันตกรรมประดิษฐ์(ฟันเทียม) สปสช.บริหารรวมกับรายการอุปกรณ์และอวัยวะเทียมในการบำบัดโรค(Instruments) ใช้หลักเกณฑ์การจ่ายเช่นเดียวกัน บริหารโดยส่งเสริมการมีส่วนร่วมทั้งภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงบริการทันตกรรมประดิษฐ์ได้อย่างทั่วถึง

การบริหารค่าใช้จ่ายทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน บริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากจัดบริการระดับจังหวัด 1.72 บ/ปชก.ทุกสิทธิ กรอบเงิน เป็นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกันสำหรับรายบุคคลและครอบครัวที่ บริหารจัดการโดยระดับจังหวัดเพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการทันตกรรมส่งเสริม ป้องกัน กรอบกิจกรรม 1.จัดกิจกรรมบริการตามนโยบายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากและกระตุ้นการ จัดบริการ ระดับจังหวัด และยุทธศาสตร์ระดับประเทศ 2.จัดบริการรวมระดับจังหวัดซึ่งหน่วยบริการไม่สามารถจัดบริการได้ด้วย ตนเองหรืออาจจัดบริการไม่ได้ผลดี 3.จัดบริการเชิงรุกเข้าไปในพื้นที่หรือกลุ่มเป้าหมายที่ขาดแคลนบริการหรือ ยังเข้าถึงไม่บริการ 4.ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของหน่วยบริการภาคเอกชน ชุมชนและ องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ในการจัดบริการ 5.จัดบริการเสริมเพิ่มเติมในกลุ่มเป้าหมายอื่น ได้แก่ กลุ่มเยาวชน(มัธยมศึกษาขึ้นไป) วัยทำงาน และกลุ่มอื่น ๆ เช่น กลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน ผู้พิการ หรือผู้ด้อยโอกาสในสังคมเป็นต้น 6.สนับสนุนค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมแก่หน่วยบริการที่สามารถดำเนินการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากได้ผลตามเกณฑ์ที่คณะกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปากระดับจังหวัด กำหนด การบริหารจัดการ โดยสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

บริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากจัดบริการระดับจังหวัด ปรับแผน สปสช. สาขาจังหวัดส่งแผนงาน/โครงการให้คณะทำงานทันตสาธารณสุขระดับ สปสช.เขต พิจารณา (ประมาณ ธันวาคม 2555) สปสช สาขาจังหวัดจัดทำแผนงาน/โครงการ โดยคณะกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปากระดับจังหวัดทั้งนี้ควรคำนึงถึงการมีส่วนร่วมของหน่วยบริการ และองค์กรอื่น (ประมาณพฤศจิกายน-ธันวาคม 2555) สปสช.เขต แจ้งแผนงาน /โครงการ และยืนยันวงเงินที่จะจัดสรรของแต่ละจังหวัดให้ สปสช. โดยกองทุนทันตกรรมเพื่อโอนงบประมาณ สปสช. โดยกองทุนทันตกรรม โอนงบประมาณ ตรงไปที่ สปสช.สาขาจังหวัด (ประมาณ มกราคม 2556) สปสช.โดยกองทุนทันตกรรมแจ้งจัดสรรวงเงินตามรายหัวประชากรทุกสิทธิ(ระดับจังหวัด) แก่ สปสช สาขาจังหวัด ผ่าน สปสช.เขต (ประมาณ ตุลาคม 2555) แนวทางการบริหารงบ

การบริหารค่าใช้จ่ายทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน 2. ค่าบริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ทันตกรรมป้องกันระดับหน่วยบริการ ประจำ 14.08 บ/ปชก.ทุกสิทธิ กรอบเงิน เป็นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกันสำหรับกลุ่มเป้าหมายหลัก บริหาร จัดการโดยระดับหน่วยบริการประจำเพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการทันตกรรม ส่งเสริมป้องกัน กรอบกิจกรรม 1.การดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ทันตกรรมป้องกันในเด็ก ประถมศึกษาตามชุดสิทธิประโยชน์ โดยเน้นการจัดบริการทันตกรรมแบบ ผสมผสานในเด็กประถมศึกษาปีที่ 1 ไปพร้อมกับงานอนามัยโรงเรียน 2.การดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ทันตกรรมป้องกันในหญิง ตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัย ตามชุดสิทธิประโยชน์ 3.ให้หน่วยบริการปฐมภูมิ(PCU)/สอ./องค์กรอื่นๆ เสนอแผนงาน/โครงการ สร้างเสริมสุขภาพช่องปากที่จะดำเนินการแก่ประชาชนในพื้นที่ โดยเป็นการ แก้ปัญหาที่สอดคล้องกับสภาพปัญหา และบริบทของพื้นที่ 4.ค่าบริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากและทันตกรรมป้องกันที่หน่วยบริการ ประจำได้รับเข้าเป็นเงินบำรุง การใช้จ่ายเป็นไปตามระเบียบเงินบำรุง กระทรวงสาธารณสุข การบริหารจัดการ บริหารโดย CUP /คปสอ.

บริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากทันตกรรมป้องกันระดับหน่วยบริการประจำ สปสช.โดยกองทุนทันตกรรมแจ้งจัดสรรวงเงินตามรายหัวประชากรทุกสิทธิ (ระดับCUP) แก่ สปสช สาขาจังหวัด ผ่าน สปสช.เขต ( ประมาณ ตุลาคม 2555) แนวทางการบริหารงบ สปสช.สาขาจังหวัดโดยคณะกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปากระดับจังหวัดกำหนดเป้าหมายและวงเงินค่าใช้จ่าย.ให้ CUPเพื่อจัดทำแผนงาน (ประมาณ พฤศจิกายน 2555) สปสช. สาขาจังหวัดแจ้งวงเงิน ที่จะจัดสรรให้แต่ละ CUP ผ่าน สปสช.เขต ให้ สปสช. (ประมาณ ธันวาคม 2555) คปสอ.จัดทำแผนงานทันตสาธารณสุขในพื้นที่โดยคำนึงถึงการมีส่วนร่วมของผู้แทนท้องถิ่น/ ทันตบุคลากร และภาคประชาชน (ประมาณ พฤศจิกายน 2555) คปสอ. จัดส่งแผนให้ สปสช. สาขาจังหวัด เพื่อเสนอให้คณะกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปากระดับจังหวัดพิจารณาอนุมัติ (ประมาณ ธันวาคม 2555) ปรับแผน สปสช.โอนค่าใช้จ่ายไปพร้อมกับงบบริการผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยใน ตามที่ สปสช.สาขาจังหวัด แจ้งยืนยันวงเงิน ผ่าน สปสช.เขต. ตรงไปที่ CUP (ประมาณ มกราคม 2556) สปสช.สาขาจังหวัด กำกับติดตาม ประเมินผล / สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงาน/โครงการ รวบรวมและแจ้งให้ สปสช.ทราบ ผ่าน สปสช.เขต (ประมาณ สิงหาคม 2556)

การบริหารค่าใช้จ่ายทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน 3.งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน 0.80 บ/ปชก.ทุกสิทธิ กรอบเงิน เป็นค่าใช้จ่ายสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการจะจัดสรรให้แก่ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด หน่วยงาน องค์กรต่างๆที่เกี่ยวข้อง รวมถึงการดำเนินงานของสปสช. / สปสช.เขต เพื่อสนับสนุนการพัฒนาระบบ กลไกการบริหารจัดการ การพัฒนาศักยภาพหน่วยบริการและบุคลากร การพัฒนาสารสนเทศการสื่อสารความเสี่ยงและให้การศึกษา การพัฒนานวตกรรม การกำกับติดตามและประเมินผล กรอบกิจกรรม 1. สนับสนุนระบบการบริหารจัดการ(ระดับประเทศ เขต จังหวัด)เพื่อให้เกิดการดำเนินงานทันตสาธารณสุขให้มีประสิทธิภาพ 2. สนับสนุนการพัฒนาระบบบริการทันตกรรม เพื่อให้เกิดแนวทาง/นวัตกรรมในการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น โครงการนำร่องในการจัดบริการทันตกรรม โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 3. สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพ/ การผลิต /กระจายทันตบุคลากร เช่น การกระจายทันตาภิบาลเข้าสู่หน่วยบริการปฐมภูมิ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตำบล การพัฒนาศักยภาพบุคลากรอื่นๆ ให้มีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากในกลุ่มเป้าหมาย 4. สนับสนุนการพัฒนาระบบข้อมูลทันตสาธารณสุข

แนวทางบริหารค่าใช้จ่ายทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน(ต่อ) 3.งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน 0.80 บ/ปชก.ทุกสิทธิ กรอบกิจกรรม 5. สนับสนุนจัดทำแผนยุทธศาสตร์ระบบสุขภาพช่องปากระดับจังหวัด ระดับเขต และระดับประเทศ 6. สนับสนุนสำหรับการกำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานใน พื้นที่ 7. สนับสนุนกิจกรรมการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก 8. พัฒนาระบบบริการทันตสุขภาพช่องปากเน้น รพ.สต. 9. การศึกษา/สำรวจสถานการณ์สุขภาพช่องปากของจังหวัด การบริหารจัดการ บริหารโดย สปสช.ส่วนกลาง และสปสช.เขต เพื่อสนับสนุนหน่วยงานภาครัฐ สถาบันวิชาการ และหน่วยงานอื่น การสนับสนุนค่าใช้จ่ายสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกันแก่สปสช.สาขาจังหวัดให้บูรณาการไปพร้อมกับค่าใช้จ่ายสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการปฐมภูมิ บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค และบริการการแพทย์แผนไทย บริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ เพื่อให้เกิดบูรณาการทำแผนงานโครงการในระดับจังหวัด การจัดสรร สปสช.จัดสรรเงินผ่าน สปสช.เขตเพื่อบูรณาการจัดสรรสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด และหน่วยงานอื่นๆ

สิ่งที่ต่างจาก ปี 2555 กรอบค่าใช้จ่ายทันตกรรมส่งเสริมป้องกันและทันตกรรมประดิษฐ์ กำหนดสัดส่วนค่าใช้จ่ายไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 ให้จ่ายเป็นค่าใช้จ่ายทันตกรรม ส่งเสริมป้องกัน และไม่เกินร้อยละ 5 เป็นค่าใช้จ่ายสนับสนุนและส่งเสริมการ จัดบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน ค่าใช้จ่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากจัดบริการระดับจังหวัด สามารถ สนับสนุนค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมแก่หน่วยบริการที่สามารถดำเนินการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคในช่องปากได้ผลตามเกณฑ์ที่คณะกรรมการพัฒนาระบบบริการ สุขภาพช่องปากระดับจังหวัด กำหนด งบค่าใช้จ่ายบริการทันตกรรมประดิษฐ์บริหารรวมกับรายการอุปกรณ์และ อวัยวะเทียมในการบำบัดโรค (Instruments) ไม่ได้แยกงบค่าใช้จ่ายไว้เป็นการ เฉพาะ

http://nakhonsawan.nhso.go.th/denture/denture1.php

http://nakhonsawan.nhso.go.th/denture/denture1.php

สวัสดี Santi.s@nhso.go.th